ทฤษฎีทางด้านการบริหาร (ต่อ)
4.ทฤษฎีการบริหารร่วมสมัย (Contemporary viewpoints)
4.1 การบริหารตามทฤษฎีระบบ (System theory)
– General system
– Open system
4.2 ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ (Contingency theory)
4.3 ทัศนะการบริหารที่เกิดขึ้นใหม่ (Emerging views)
4.1 การบริหารตามทฤษฎีระบบ (System theory)
• ระบบทั่วไปและระบบสังคม (เปิดและปิด)
• ระบบคือการหลอมรวมกันขององค์ประกอบต่างๆอย่างมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันซึ่งออกแบบมาเพื่อแก้ไขและทำงานอย่างร่วมมือกันเพื่อให้งานนั้นบรรลุผล
• ระบบต้องมีการจัดอย่างเป็นเอกภาพซึ่งอาจประกอบด้วยส่วนต่างๆ องค์ประกอบหรือระบบย่อย ที่เป็นอิสระต่อกันแต่อยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกันของระบบใหญ่ (Suprasystem)
• Source: Kimbrough & Nunnery, 1976, p.73
Open system
• ได้รับแรงบันดาลใจจากงานของ Ludwig von Bertalanffy, นักทฤษฎีเชิงชีวะวิทยา
• พัฒนาในปี 1950s and 1960s
• พัฒนาภายใต้หลักการที่ว่า องค์การ เช่น ร.ร.และการบริหาร ร.ร. อยู่ในระบบเปิดซึ่งเชื่อมโยงสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
• เพื่ออยู่รอดองค์การต้องมีความสัมพันธ์ที่เหมาะสมต่อสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
Source: Morgan (1997, p. 39).
Open system
• “ระบบเปิด” คือระบบของสิ่งมีชีวิต เริ่มต้นจากเซลล์และองคาพยพที่ซับซ้อน
• เน้นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกซึ่งทำหน้าที่ภายในระบบ
Source: Morgan, 1997, p. 40.
Open system: Daniel Katz & Robert Kahn: The School Social Psychology of Organization, 1966
1. ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
2. องค์การเป็นระบบที่มีทั้งปัจจัยนำเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output)
3. ระบบคือกิจกรรมที่ทำมีลักษณะการทำซ้ำเป็นวงจรต่อเนื่อง (cycles of events) อาศัยการทำงานร่วมกัน ในองค์การ
4. การหยุดความเสื่อมขององค์การหรือสถาบัน (Negative entropy): ระบบปิดเสื่อมสลาย ระบบเปิดรักษาสภาพตนเอง Offset entropic tendencies
5. ความสามารถในการดำรงอยู่ (Homeostasis): self-regulation and the ability to maintain a steady state. นำเข้าทรัพยากรจากภายนอก ผลิตออกไป
6. ความแตกต่าง (Differentiation) มีความแตกต่างทางหน้าที่ มีความหลากหลายของความชำนาญการ
7.ข้อมูลย้อนกลับ (Negative feedback) ให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้า (input) เพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงต่อไป
8. วิธีที่ดีที่สุดมีหลายทาง (Equifinality) # Taylor—one best way (closed system:
Kast & Resenzweig, 1972:
General System theory
Figure 1: Open system with feedback loop
(Hoy & Miskel, 2001, p. 19)
Input
-People
-Materials
-Finances
|
Outputs
-Products
-Services
|
4.2 ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ (Contingency theory)
• ตรงข้าม Taylor & Fayol: แนวทางที่ดีที่สุดมีแนวทางเดียว
• การบริหารขึ้นอยู่กับสถานการณ์ (Administration depends on situations)
• บริบทของการบริหารต้องดำเนินการเกี่ยวกับความไม่แน่นอน “uncertainty”
• ความต้องการในสิ่งแวดล้อมที่หลากหลายต้องอาศัยความหลากหลายของแนวทางในการตอบสนอง
• อาศัยรูปแบบที่แตกต่างกัน
• รูปแบบภาวะผู้นำต้องแตกต่างกันเมื่อแก้ปัญหาที่ต่างกัน
The context of contingency theory
• A = a situation (threat or problem)
• B = contingency plans
• C = outcome (safety and security)
• Relationship between A and C is moderated by B.
Ex: Gunman and contingency plans in case of hijack
Ex: Gunman and contingency plans in case of hijack
1. proceed established destination
2. attempt to overpower
3. talk the gunman out of intentions
4. feign mechanical problem and descend toward the nearest airport
5. argue that no more fuel nor the map for such as trip;
What about in case of the unrest? What do you think?
4.3 ทัศนะการบริหารที่เกิดขึ้นใหม่ (Emerging views)
• ทฤษฎี Z
• การบริหารคุณภาพโดยรวม Total Quality Management (TQM)
• การบริหารแบบเน้นวัตถุประสงค์ (Management by objectives: MBO)
• Postmodern theory
• Critical theory
• Feminism
ทฤษฎี Z
• พัฒนาโดย William Ouchi
• หลักการบริหารแบบญี่ปุ่น (Japanese management)
• บูรณาการระหว่างแนวคิดแบบอเมริกันและญี่ปุ่น
หลักการทฤษฎี Z
• ความมั่นคงในงาน
• มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
• รับผิดชอบเป็นรายบุคคล
• เพิ่มคุณภาพ
• มีนโยบายความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง
• เน้นการควบคุมไม่เป็นทางการ
• เปิดโอกาสในอาชีพที่กว้างขึ้น
• มีคุณภาพชีวิตทั้งในการทำงานและครอบครัว
การบริหารคุณภาพโดยรวม Total Quality Management (TQM)
• ถูกพัฒนาในยุคแข่งขันทางเศรษฐกิจ
• เน้นความรับผิดชอบต่อการผลิตหรือการให้บริหารที่มีคุณภาพ
• กระตุ้นให้คนงานแต่ละฝ่ายพัฒนางาน
• มีพื้นฐานจาก TQC (Total Quality Control)
• เน้นความมีพันธะผูกพันกับองค์การ
• พยายามปรับปรุงคุณภาพเพื่อเป้าหมายองค์การ
• ประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารแบบเน้นวัตถุประสงค์ (Management by objectives: MBO)
• พัฒนาโดย Peter Drucker (1983)
• บุคคลรับผิดชอบงานอย่างเต็มที่
• มีทิศทางในการทำงานร่วมกันอย่างชัดเจน
• ทำงานเป็นทีม
– ทุกคนเข้าใจวัตถุประสงค์รวมขององค์การ
– การมีส่วนร่วมในการทำงาน
– มีการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback)
– มีการกำหนดระยะเวลาให้จัดเจนในการวางวัตถุประสงค์ เตรียมการ ดำเนินงานและรายงานผล
Postmodern theory (ทฤษฎี Postmodern)
• Derrida (1978) & Foucault (1983)
• โต้แย้งเกี่ยวกับคติฐานพื้นฐาน (basic assumptions) ของวิทยาศาสตร์ทางสังคม
• ปฎิเสธความรู้ของศาสตร์มาตรฐานทางองค์กรและทฤษฎี
• ไม่มีความจิรงเพียงความจริงเดียว ไม่มีแนวทางการนำเสนอความรู้เพียงแนวทางเดียว
• มีรูปแบบที่หลายหลายในการนำเสนอถ่ายทอดความรู้
• โลกนี้ประกอบด้วยโครงสร้างที่หลายหลายและความจริงในโลกก็ปรากฎอยู่อย่างหลากหลาย
• เป้าหมายคือวิเคราะห์เปิดโปงให้เห็นจุดอ่อนของความรู้และสังคมศาสตร์สมัยใหม่โดยเฉพาะทฤษฎีองค์การร่วมสม