Balanced Scorecard
Balanced Scorecard คืออะไร
Balanced Scorecard เป็นกลยุทธ์ในการบริหารงานสมัยใหม่ และได้รับ
ความนิยมไป ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย Balanced Scorecard ได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อปี 1990 โดย Drs. Robert Kaplan จาก Harvard Business School และ David Norton จาก Balanced Scorecard Collaborative โดยตั้งชื่อระบบนี้ว่า “Balanced Scorecard” เพื่อที่ผู้บริหารขององค์กรจะได้รับรู้ถึงจุดอ่อน และความไม่ชัดเจนของการบริหารงานที่ผ่านมา balanced scorecard จะช่วยในการกำหนดกลยุทธ์ในการจัดการองค์กรได้ชัดเจน โดยดูจากผลของการวัดค่าได้จากทุกมุมมอง เพื่อให้เกิดดุลยภาพใน ทุก ๆ ด้าน มากกว่าที่จะใช้มุมมองด้านการเงินเพียงด้านเดียว อย่างที่องค์กรธุรกิจส่วนใหญ่คำนึงถึง เช่น รายได้ กำไร ผลตอบแทนจากเงินปันผล และราคาหุ้นในตลาด เป็นต้น การนำ balanced scorecard มาใช้ จะทำให้ผู้บริหารมองเห็นภาพขององค์กรชัดเจนยิ่งขึ้น
Balanced Scorecard คือระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่ว
ทั้งองค์กร และไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการวัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้วแปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายงานและแต่ละคน โดยระบบของ Balanced Scorecard จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการดำเนินงาน โดยพิจารณาจากผล ที่เกิดขึ้นของกระบวนการทำงานภายในองค์กร และผลกระทบจากลูกค้าภายนอกองค์กร มานำมาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น เมื่อองค์กรได้ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ Balanced Scorecard เต็มระบบแล้ว Balanced Scorecard จะช่วยปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ขององค์กรจากระบบ “การทำงานตามคำสั่งหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้สืบทอด กันมา (academic exercise)” ไปสู่ระบบ “การร่วมใจเป็นหนึ่งเดียวขององค์กร (nerve center of an enterprise)”
จุดกําเนิดของ Balanced Scorecard
Balanced Scorecard มีจุดเริ่มตนจากบุคคล 2 คน คือ Professor Robert Kaplan อาจารยประจํามหาวิทยาลัย Harvard และ Dr.David Norton ที่ปรึกษาดานการจัดการ โดยทั้งสองคนไดมีการศึกษาและสํารวจถึงสาเหตุของการที่ตลาดหุนของอเมริกาประสบปญหาในป 1987 และพบวาองคกรสวนใหญในอเมริกานิยมใชแตตัวชี้วัดทางดานการเงินเปนหลัก ทั้งสองจึงไดเสนอแนวคิดในเรื่องของการประเมินผลองคกร โดยแทนที่จะพิจารณาเฉพาะตัวชี้วัดทางดานการเงิน ( Financial Indicators) ทั้งสองเสนอวาองคกรควรพัฒนาตัวชี้วัดในสี่มุมมอง (Perspectives) ไดแก มุมมองดานการเงิน (Financial Perspective) มุมมองดานลูกคา (Customer Perspective) มุมมองดานกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) และมุมมองดานการเรียนรูและการพัฒนา (Learning and Growth Perspective) ทั้งสองไดตีผลงานของตนเองครั้งแรกในวารสาร Harvard Business Review ในป 1992 จากจุดนั้นเปนตนมาทําใหแนวคิดทางดาน Balanced Scorecard เปนที่นิยมและใชกันอยางแพรหลายในองคกรตาง ๆ ทั่วโลก จนวารสาร Harvard Business Review ไดยกยองใหเปนหนึ่งในเครื่องมือทางดานการจัดการที่มีผลกระทบตอองคกรธุรกิจมากที่สุดเครื่องมือหนึ่งในรอบ 75 ป
Balanced Scorecard คือระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่วทั้งองค์กร และไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการวัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้วแปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายงานและแต่ละคน โดยระบบของ Balanced Scorecard จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการดำเนินงาน โดยพิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการทำงานภายในองค์กร และผลกระทบจากลูกค้าภายนอกองค์กร มานำมาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น เมื่อองค์กรได้ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ Balanced Scorecard เต็มระบบแล้ว Balanced Scorecard จะช่วยปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ขององค์กรจากระบบ “การทำงานตามคำสั่งหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้สืบทอดกันมา (academic exercise)” ไปสู่ระบบ “การร่วมใจเป็นหนึ่งเดียวขององค์กร (nerve center of an enterprise)”
ทําไมจึงเรียกวา “Balanced Scorecard”
1. Balanced คือ ความสมดุลของสิ่งตอไปนี้
1.1 ความสมดุลทั้งในดานการเงินและดานอื่น ไดแก ดานลูกคา การดําเนินงานภายใน และการเรียนรูและพัฒนา ซึ่งก็คือ มุมมอง (Perspectives) ทั้ง 4 มุมมองของ BSC นั่นเอง
1.2 ความสมดุลระหวางมุมมองในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งมุมมองระยะสั้นคือการใหความสําคัญดานการเงินเปนหลัก จนละเลยตอการพัฒนาองคกรในระยะยาว เชน ในเรื่องของบุคลากรหรือดานเทคโนโลยี แต BSC เปนเครื่องมือที่ผูบริหารมุงใหความสําคัญทั้งมุมมองระยะสั้น
(ดานการเงิน) และมุมมองในระยะยาวที่แสดงถึงการเรียนรูและพัฒนาองคกร
1.3 ความสมดุลระหวางมุมมองภายในและภายนอกองคกร เพราะ BSC เสนอมุมมองดานลูกคา (Customer perspective) จะเปนการมององคกรจากมุมมองของตัวลูกคาทําใหองคกรทราบวา อะไร คือ สิ่งที่ลูกคาคาดหวังหรือตองการ
1.4 ความสมดุลระหวางการเพิ่มรายไดและการควบคุมตนทุน
1.5 ความสมดุลระหวางตัวชี้วัดที่เปนเหตุ (Leading indicators) และตัวชี้วัดที่เปนผล (Lagging Indicators)
2. Scorecard คือ บัตรคะแนน หมายความวา มีระบบขอมูลหรือสิ่งสนับสนุนใหเห็นวา ตัวชี้วัดในแตละดานนั้นไดทําจริง ไมใชมีเฉพาะตัวเลข
แนวคิดพื้นฐานของ Balanced Scorecard
Balanced Scorecard ประกอบด้วยมุมมอง (Perspectives) 4 ด้าน คือ
1. มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective)
2. มุมมองด้านลูกค้า (