ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมเรื่องราวจากสมาชิก  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

เคล็ดลับ 10 ข้อสำหรับครู(Ten Tips for Teachers)


เรื่องราวจากสมาชิก เปิดอ่าน : 7,155 ครั้ง
Advertisement

เคล็ดลับ 10 ข้อสำหรับครู(Ten Tips for Teachers)

Advertisement

 

เคล็ดลับ 10 ข้อสำหรับครู

Ten Tips for Teachers

 

1.  เข้าสอนทุกครั้ง

ถ้ามีหลักสูตรที่มีคุณภาพแต่ไม่มีครู นักเรียนก็ไม่สามารถที่จะเรียนได้ ถ้าครูเข้าสอนนักเรียนทุกครั้งนักเรียนก็จะมีความรู้สึกอยากเรียน ดังนั้น เคล็ดลับข้อแรกนี้ครูต้องเข้าสอนตรงเวลาทุกครั้งที่มีสอน จะมีผลต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ครูอาจจะต้องมาก่อนเวลาเพื่อที่จะเตรียมตัวก่อนการสอน ถ้าครูไม่สามารถเข้าสอนได้ต้องฝากให้ครูท่านอื่นสอนแทน และต้องบอกครูที่จะเข้าสอนแทนก่อนอย่างน้อย 1 วัน เพื่อที่จะให้ครูที่จะเข้าสอนแทนมีเวลาเตรียมเนื้อหาที่จะสอน

 

1. Come to Class

Regardless of the quality of the program if there is no one to teach students cannot learn. Also, if you are consistently committed to the classroom it is more likely your students will be too. Therefore, the first, and one of the easiest, steps to being an effective English teacher is showing up on time in the classroom on the days you are supposed to teach. Every time. You may even want to come a few minutes early to prepare your classroom before teaching. If you cannot show up for the class you are meant to teach make sure another teacher can take your place. Let them know at least the day before so that they have time to lesson plan.

 

2.  ทำแผนการสอน

สำหรับการสอนวิชาภาษาอังกฤษต้องมีการวางแผนการสอนก่อน ซึ่งสิ่งนี้สำคัญมากๆ ต่อครูผู้สอนซึ่งสามารถทำให้ครูเห็นถึงเป้าหมายหรือจุดประสงค์ การสอนภาษาอังกฤษที่ไม่มีการวางแผนก็เปรียบเสมือนการงมเข็มในมหาสมุทร แผนการสอนไม่ต้องมีอย่างละเอียดลออก็ได้ ต้องไม่ลืมว่า จุดประสงค์หรือเป้าหมายช่วยทำให้ครูเป็นครูที่มีประสิทธิภาพได้ ต่อไปนี้คือสิ่งที่มีประโยชน์ต่อการวางแผนการสอน

*จุดมุ่งหมาย : จุดมุ่งหมายต่อการเรียนเป็นส่วนหนึ่งต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษที่จะส่งผลในบทเรียน ต้องสอนเกี่ยวกับเนื้อหาของจุดมุ่งหมาย ไม่จำเป็นต้องสอนตามกระบวนการหรือเนื้อหาตามในหนังสือ ยกตัวอย่างเช่น การเรียนเนื้อหาควรเป็นเนื้อหาของสิ่งที่จะเรียนและไม่ใช่ตามในหนังสือ นี่คือเหตุผลที่ครูต้องมีการวางแผนการสอนและควรจะมีเนื้อหาที่จะสอนจริงๆ

*วิธีการสอน : ถ้ามีจุดมุ่งหมายที่จะสอนแล้วต้องทำให้นักเรียนสามารถรับสิ่งที่ครูจะสอนให้ได้ จะใช้เนื้อหาอะไร จะเริ่มต้นใช้อะไรก่อน  จะเริ่มต้นอย่างไรที่จะสอนนักเรียนและทบทวนตลอดทั้งบทเรียน ครูบางคนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ตามเนื้อหา และจำนวนที่ต้องการ เพื่อให้เข้ากับการเรียนการสอน โดยทั่วไป ถ้าทำตามเคล็ดลับข้อนี้สามารถทำให้การเรียนเป็นไปอย่างราบรื่นและไม่มีปัญหา ครูสามารถเพิ่มรายละเอียดตามที่ครูต้องการ บางครั้งอาจจะซัก 2- 3 ประโยคก็ได้ และครูต้องมั่นใจว่าการดำเนินการสอนจะต้องดำเนินไปตามที่ได้วางเอาไว้

*การวางแผนการสอน : ขณะที่วางแผนการสอนนั้นมันเป็นสิ่งที่มีประโยชน์มากต่อครู เพราะทำให้ครูได้เตรียมตัวหรือรู้ว่าจะสอนอย่างไรก่อนที่จะได้เริ่มสอนเนื้อหานั้นๆ แก่นักเรียน  รวมทั้ง ไวยากรณ์ และเนื้อหาสำหรับครูชาวต่างชาติ จะต้องแปลก่อนล่วงหน้า

 

2. Lesson Plan

Lesson planning is absolutely essential to teaching English as a foreign language. It provides you with a sense of purpose in the classroom and the roadmap to help you get there. Teaching the English language without a lesson plan is like driving into the ocean. A lesson plan doesn’t have to be elaborate. Remember, its purpose is to help you be an effective teacher. Below are some useful steps for lesson planning:

* Objective: Learning objectives are the elements of the English language that will be taught by the lesson. Make sure to teach to learning objectives, not particular teaching methods or materials. For instance, a learning objective should be something like “pronouns” and not “page 17” in the workbook or a dialogue. It is the “point” of the lesson, and should be explicitly written out.

* Flow: Now that you have a goal for the lesson, lay out how you intend to get there. What activities are you going to use? What will you start with? How will you model and review throughout the lesson? Some teachers like to include things like a list of the materials they will need or the amount of time they expect each activity to take. Generally the more thought out the flow of the lesson is the more smoothly and effectively the lesson will run. The lesson flow can be as detailed as you want it to be; sometimes just a few lines are enough. Just make sure your lesson has a logical progression and that you are confident going into the classroom.

* Prepare: While preparing for a lesson it is helpful to familiarize yourself with the material you will be teaching, including things such as definitions, grammar concepts, and English/Thai translations.

 

3. สอนอย่างช้าๆ

สอนไปอย่างทีละนิดๆ ในแต่ละวันสามารถทำให้นักเรียนได้รับเนื้อหาได้ง่ายและอย่างชัดเจน ต้องรู้ว่าภาษาไทยมีที่มาที่แตกต่างกันกับภาษาอังกฤษ มีตัวอักษรและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน อย่านึกว่านักเรียนรู้ในสิ่งที่ครูยังไม่ได้สอน ดังนั้น เวลาที่ครูถามนักเรียนต้องให้เวลากับนักเรียนได้คิดสิ่งเกี่ยวกับสิ่งที่ครูถามอย่างน้อย 10 วินาทีเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้องหรือถามกับนักเรียนคนอื่นอีก ถ้านักเรียนตอบผิด ห้ามครูเฉลยคำตอบให้กับนักเรียน แต่ต้องให้เวลากับนักเรียนอีกหรือให้นักเรียนคนอื่นแก้ให้ถูกต้อง

 

3. Go Slow

Teach in baby steps. Set small, achievable goals for a day’s lesson plan clearly laid out as the lesson’s objective. It is a common mistake, especially for teachers who have English as their native language, to move too quickly. Remember, Thai is a fundamentally different language than English. It uses a different alphabet and has radically different grammar concepts. Don’t assume your students know anything that you haven’t taught yet or that they haven’t already demonstrated knowledge of. Also, when you ask your students a question allow them some period of time to process a response. You want your students to work through what they’ve learned. As a general rule, allow at least ten seconds of “wait time” before giving them the right answer or turning the question over to another student. Likewise, if a student answers incorrectly do not immediately give the right answer but allow some time for them or other students in the class to find and correct the mistake.

 

4. ทบทวน

การทบทวนเป็นสิ่งที่สำคัญมากๆ ห้ามคิดเอาเองว่านักเรียนสามารถจำในสิ่งที่เรียนได้หมด บางครั้งต้องย้ำในสิ่งที่สอนให้เยอะๆ หรือทบทวนในครั้งต่อไปเพราะเนื้อหาบางเรื่องต้องใช้เวลานาน เพื่อให้นักเรียนได้จำสิ่งนั้นๆ

 

4. Review

Reviewing is essential. Do not assume just because students know something by the end of the day they will remember it tomorrow. It can take dozens, even hundreds, of repetitions before a language concept “sticks.” To help with student retention, constantly go back over old concepts in subsequent lessons.

 

5. เพิ่มเติมความรู้เข้าด้วยกัน

วางแผนการสอนในสิ่งที่นักเรียนได้เรียนแล้วเข้ากับเรื่องใหม่ๆที่จะสอน และนักเรียนควรรู้เรื่องที่ครูจะสอน ด้วยยกเว้น จุดมุ่งหมายที่ครูจะสอนในวันนั้น ครูสามารถทบทวนเกี่ยวกับเนื้อหาที่นักเรียนได้เรียนผ่านมาแล้วเข้ากับเนื้อหาใหม่เพื่อให้นักเรียนได้ทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เคล็ดลับข้อนี้ทำให้ง่ายต่อการเขียนหลักสูตรการสอน

 

5. Build on Previous Knowledge

Always build subsequent lessons off of what students have already learned. Just as there should only be a small, manageable amount of new material presented in a day’s lesson, students should already be competent in any other elements of the English language necessary for them to learn that new material as laid out in your lesson plan. Building lesson plans off of previous lessons can make reviewing easier, as well as provide a familiar context for student understanding. Building on what students already have learned is a good idea for designing learning modules, units, and curriculum as well.

 

6. ใช้ภาษาอังกฤษ

การเรียนภาษาอังกฤษที่จะให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุดคือครูต้องพูดภาษาอังกฤษ สมมติว่า ในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ครูพูดภาษาอังกฤษในสิ่งที่นักเรียนได้เรียนผ่านมาแล้วแทนที่จะพูดภาษาไทยกับนักเรียน สมมติว่า ถ้านักเรียนรู้จำนวนในภาษาอังกฤษเวลาที่ต้องการให้นักเรียนเปิดหนังสือพยายามอย่าพูดกับนักเรียนเป็นภาษาไทย ถ้าครูพูดภาษาอังกฤษในชั้นเรียนทำให้เกิดการทบทวนได้มากกว่าและใช้ภาษาอังกฤษให้เข้ากับการสื่อสาร นั่นจะทำให้นักเรียนได้รู้ได้เห็นการใช้ภาษาอังกฤษได้ในโลกแห่งความจริง

 

6. Use English

By far the most effective way to learn a language is to be required to use it in a real world setting (in this instance, the classroom). Therefore, make sure to use the English words and concepts that students have already learned as much as possible. Wean students off their Thai equivalents. For instance, if students know numbers in English don’t tell them to open their workbooks to page 35 in Thai! Using English in the classroom goes beyond mere review, and establishes English as a legitimate means of communication that will begin enabling students to make use of English in the real world.  

 

7. ครูต้องรู้จักนักเรียน

การรู้จักนักเรียนสามารถทำให้การวางแผนการสอนของครูมีประสิทธิภาพ เพราะแผนการสอนที่ครูได้ทำนั้นจะต้องเข้ากับการดำเนินชีวิตของนักเรียน จะทำให้นักเรียนเกิดความสนใจมากขึ้น บางสิ่งครูอยากจะรู้เกี่ยวกับนักเรียนรวมทั้งชื่อของนักเรียน ความสนใจ ความสามารถของนักเรียนเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ นักเรียนใช้ภาษาอังกฤษอย่างไรได้บ้างในชุนชนของพวกเค้า วิธีการสอนอะไรที่สามารถช่วยนักเรียนได้มากที่สุด วิธีการที่ดีที่ครูจะได้รับควรจะเริ่มตั้งแต่ต้นเทอม ทำแบบสำรวจหรือแค่ถามนักเรียนก็ได้ ตลอดทั้งภาคเรียนต้องให้นักเรียนเขียน อ่าน และถามเพื่อนซึ่งกันและกันเกี่ยวกับชีวิตของพวกเค้า : ครอบครัว แรงบันดาลใจ ประสบการณ์ ชุมชน ฯลฯ ตั้งใจเอาใจใส่และรวมทุกสิ่งทุกอย่างเข้ากับการวางแผนการสอนในอนาคต

 

7. Know Your Students

Knowing your students can help you design effective, appropriate lesson plans that are relevant to your students’ lives (and therefore more likely to generate genuine student interest). Some things you’ll want to know about your students include their names, interests, current English abilities, how English is used in their communities, and what teaching methods help them learn best. A survey, or even just informally asking your students, can be an easy way to get this information from the start. Then, throughout the semester have students write, read, and ask each other questions about their lives: their families, aspirations, experiences, communities, etc. Pay attention, and incorporate this information into future lesson plans.

 

8. ทำตัวให้เหมือนกับนักเรียน

เคล็ดลับข้อนี้มีประโยชน์เสมอต่อครูและให้คิดว่าถ้าครูเป็นนักเรียนแล้วจะเข้าใจเกี่ยวกับที่ครูสอนหรือเปล่า ถ้านักเรียนไม่เข้าใจหรือจำไม่ได้ เพราะว่าส่วนใหญ่ครูอาจจะสอนไม่เข้าใจ การทำให้นักเรียนรู้สึกไม่มีความมั่นใจในการเรียน อย่างเช่น การพูดคำที่ซ้ำๆกันแล้วเสียงดังขึ้นเรื่อยๆกับนักเรียนไม่สามารถช่วยในการเรียนการสอนได้เลย เปลี่ยนวิธีการสอนหรืออาจจะลองวิธีที่แตกต่างกันออกไป

 

8. Think Like a Student

It is always helpful to put yourself in your students’ shoes and consider whether or not you would understand what you are teaching. If a student is not understanding or retaining a concept it is most likely because it is not being presented clearly. Showing frustration with students (such as repeating a word but this time louder) does not make learning any easier. Instead of getting frustrated, try a different approach.

 

9. แบบอย่าง

การเป็นแบบอย่างของครูคือครูต้องแสดงให้นักเรียนได้รู้ได้เห็นก่อนการถามนักเรียน เคล็ดลับข้อนี้จำเป็นที่ทำให้ความสับสนและความสงสัยมีน้อยลงเมื่อทำกิจกรรมหรือแบบฝึกหัด ยกตัวอย่างเช่น การอ่านบทสนทนาต้องอธิบายและอ่านหลายๆครั้งว่าเป็นบทสนทนาอะไร อีกตัวอย่างหนึ่งทบทวนการใช้คำสรรพนาม (I, you, he…) ก่อนถามนักเรียนให้นักเรียนทบทวนเรื่องคำกริยาเพราะนักเรียนจะได้เข้าใจเรื่องคำสรรพนามก่อน เรียนภาษาอังกฤษยากมากๆ ก่อนนักเรียนทำกิจกรรมนักเรียนต้องเข้าใจว่าจะทำกิจกรรมเกี่ยวกับอะไร ให้โครงสร้างแบบง่ายๆ ชัด และไม่ต้องสงสัย  อีกอย่างหนึ่งต้องคิดให้เหมือนเด็กเพราะมีประโยชน์ที่จะทำให้เข้าใจนักเรียนได้อย่างลึกซึ้ง

 

9. Model

Modeling refers to the teacher demonstrating an activity or reviewing a concept before asking the students to. This is a necessary step to limit confusion and ambiguity when setting up an activity or exercise. An example would be reading a dialogue aloud several times and explaining what is being discussed before asking students to manipulate the conversation. Another example would be going over all of the pronouns (I, you, he…) before asking students to do a verb tense exercise that assumes student understanding of pronouns. English is tough enough! Students shouldn’t have to guess what they are meant to be doing. Keep instructions simple, clear, and unambiguous. Again, it is helpful to think from student perspectives.

 

10. ตรวจสอบความเข้าใจ

ห้ามคิดว่านักเรียนรู้หรือเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนโดยไม่ได้ทำการตรวจสอบก่อน ถ้าครูถามว่า  เข้าใจไหม ? นักเรียนจะตอบว่าเข้าใจทุกครั้ง ต้องให้นักเรียนทำให้ครูดูในสิ่งที่นักเรียนเข้าใจ หรืออาจจะให้นักเรียนทำข้อสอบหรือทำแบบประเมินอื่นๆ ที่นักเรียนต้องใช้มีความชำนาญในเนื้อหาใหม่ๆ ตั้งแต่ข้อที่เพิ่มเติมความรู้เข้าด้วยกัน ครูต้องมั่นใจเสมอว่ามีจำนวนนักเรียนที่เข้าใจพอสมควรก่อนที่จะสอนเนื้อหาใหม่ๆ

 

10. Check Understanding

Never assume your students have learned or understood anything you have taught without checking first. Asking, “Do you understand?” tells you nothing since your students will invariably answer, “Yes.” Instead have students demonstrate their understanding by completing some kind of task, whether it is a test or less formal assessment, that requires proficiency in the new language material. Since subsequent lessons will be built on previous lessons, always make sure a reasonable number of students have demonstrated proficiency before moving onto new material.

โพสต์โดยสมาชิกหมายเลข 1756 วันที่ 14 พ.ค. 2552

🖼สำหรับคุณครูไว้ใส่เกียรติบัตรสวยและถูก🖼 กรอบป้ายอะคริลิคตั้งโต๊ะ A4 แนวนอน 30x21.5 cm อะคริลิคใส 1 หน้า ทรง L (A4L1P) ในราคา ฿129 คลิกเลย👇👇

https://s.shopee.co.th/1qLFIZVf4t?share_channel_code=6


เคล็ดลับ 10 ข้อสำหรับครู(Ten Tips for Teachers)เคล็ดลับ10ข้อสำหรับครู(TenTipsforTeachers)

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

แม่  ผู้สร้างโลก

แม่ ผู้สร้างโลก


เปิดอ่าน 7,170 ครั้ง
-->>>ที่สุดแห่งปี 2552 !!!

-->>>ที่สุดแห่งปี 2552 !!!


เปิดอ่าน 7,183 ครั้ง
สื่อการสอนภาษาอังกฤษ(17)

สื่อการสอนภาษาอังกฤษ(17)


เปิดอ่าน 7,155 ครั้ง
บทคัดย่องานวิจัย

บทคัดย่องานวิจัย


เปิดอ่าน 7,166 ครั้ง
คอลลาเจน

คอลลาเจน


เปิดอ่าน 7,171 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

ดอกราตรี

ดอกราตรี

เปิดอ่าน 7,162 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
กลุ่มของขนมไทย
กลุ่มของขนมไทย
เปิดอ่าน 7,179 ☕ คลิกอ่านเลย

ฝึก "หายใจ" ให้ "หายง่วง"
ฝึก "หายใจ" ให้ "หายง่วง"
เปิดอ่าน 7,166 ☕ คลิกอ่านเลย

วิธีลดความอ้วน... แบบง่ายๆ
วิธีลดความอ้วน... แบบง่ายๆ
เปิดอ่าน 7,167 ☕ คลิกอ่านเลย

ดูแลหุ่นอย่างไร....ให้ฟิตและเฟิร์ม ...สกัดส่วนเกินออกจากร่างกาย
ดูแลหุ่นอย่างไร....ให้ฟิตและเฟิร์ม ...สกัดส่วนเกินออกจากร่างกาย
เปิดอ่าน 7,161 ☕ คลิกอ่านเลย

สวย..สวย...สวย..ด้วยส้ม 1ผล..!!!
สวย..สวย...สวย..ด้วยส้ม 1ผล..!!!
เปิดอ่าน 7,192 ☕ คลิกอ่านเลย

หน้าสวยใสปิ๊ง.....ที่หนุ่มๆ ต้องเหลียวมอง
หน้าสวยใสปิ๊ง.....ที่หนุ่มๆ ต้องเหลียวมอง
เปิดอ่าน 7,161 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

ข้อคิดดีๆ จากละคร "แรงเงา"
ข้อคิดดีๆ จากละคร "แรงเงา"
เปิดอ่าน 22,268 ครั้ง

นโยบายการศึกษามาจากไหน-ทำไมถึงไม่สำเร็จ
นโยบายการศึกษามาจากไหน-ทำไมถึงไม่สำเร็จ
เปิดอ่าน 10,257 ครั้ง

"ครอบฟันสี" อย่าคิดเป็นอื่นไกล นี่คือพืชชนิดหนึ่ง
"ครอบฟันสี" อย่าคิดเป็นอื่นไกล นี่คือพืชชนิดหนึ่ง
เปิดอ่าน 12,799 ครั้ง

ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์และทหารรักษาพระองค์
ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์และทหารรักษาพระองค์
เปิดอ่าน 38,036 ครั้ง

รวม 4 เทคนิค ออนไลน์-ออนไซต์ จากคลาสแอคทีฟเลิร์นนิ่ง กระตุ้นสัมพันธ์ "นักเรียน – ครู" แบบไม่น่าเบื่อ
รวม 4 เทคนิค ออนไลน์-ออนไซต์ จากคลาสแอคทีฟเลิร์นนิ่ง กระตุ้นสัมพันธ์ "นักเรียน – ครู" แบบไม่น่าเบื่อ
เปิดอ่าน 5,445 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ