ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมTechnology  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

ระบบโทรทัศน์ในประเทศไทย


Technology เปิดอ่าน : 13,813 ครั้ง
Advertisement

ระบบโทรทัศน์ในประเทศไทย

Advertisement

ระบบโทรทัศน์ในประเทศไทย

ประเทศไทย มีการแพร่สัญญาณภาพและเสียงในรูปแบบโทรทัศน์มาหลายปี และปัจจุบันมีการนำระบบต่างๆ มาใช้หลากหลายระบบ ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้

  • ระบบ VHF (Very High Frequency)

    ระบบ VHF เป็นระบบคลื่นความถี่ที่ใช้ในกิจการวิทยุกระจายเสียง แพร่ภาพโทรทัศน์ การสื่อสารระยะใกล้ ด้วยความถี่ 30 - 300 MHz นับเป็นระบบแรกที่นำมาใช้ในประเทศไทย โดยสถานีโทรทัศน์ช่อง 4 บางขุนพรหม สัญญาณที่ส่งเป็นสัญญาณ Analog ส่งสัญญาณจากสถานีภาคพื้นดิน (Terestrial Station) ไปได้ไกลหลายร้อยกิโลเมตร รับสัญญาณด้วยเสาอากาศทั่วๆ ไป จัดเป็นระบบเปิดสาธารณะ หรือเรียกว่า ฟรีทีวี (Free TV) เช่น ช่อง 3, 5, 7, 9 และ 11

  • ระบบ UHF (Ultra High Frequency)

    ระบบ UHF เป็นระบบที่พบได้กับช่อง ITV รวมทั้งการสื่อสารการบิน การสื่อสารระยะใกล้อื่นๆ ด้วยสัญญาณ Analog ในย่านความถี่ 300 MHz ถึง 3 GHz เนื่องจากสัญญาณมีย่านความถี่สูงมาก ทำให้ไม่สามารถส่งสัญญาณได้ไกล จึงต้องมีสถานีเครือข่าย การรับสัญญาณสามารถใช้เสาอากาศทั่วไปได้เช่นกัน

  • ระบบ MMDS (Multichannel Multipoing Dsitribution System)

    ระบบ MMDS เคยเป็นระบบที่เผยแพร่ในประเทศไทยด้วยสถานี Thai Sky TV แต่เนื่องจากการลักลอบสัญญาณ จึงต้องปิดบริการไป ระบบนี้แพร่ภาพได้พร้อมๆ กีนกว่า 30 ช่อง ด้วยย่านความถี่ 2.1 GHz ถึง 2.7 GHz ปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้ส่งสัญญาณระบบดิจิทัล โดยใช้เครื่องถอดรหัสสัญญาณดิจิทัล (IRD - Integrate Receiver Decoder) และใช้งานร่วมกับ Wireless Internet ในรูปแบบของ Broadband จึงเป็นระบบที่น่าสนใจมากระบบหนึ่ง อย่างไรก็มีจุดด้อยคือ การรับชมสัญญาณที่ชัดเจนจะต้องมีระยะห่างจากเสาอากาศส่งสัญญาณในระยะ 12 - 15 กิโลเมตร

  • ระบบดาวเทียม

    การส่งสัญญาณระบบดาวเทียม นิยมส่งออกอากาศในย่านความถี่ C Band ที่มีความถี่ขาลงระหว่าง 3.4 - 4.8 GHz และย่านความถี่ KU Band ที่มีความถี่ขาลงระหว่าง 10.7 - 12.3 GHz โดยรับสัญญาณจากดาวเทียมประเภทค้างฟ้า (Geostationary Satellite) ที่มีความเร็วในการโคจรเท่ากับการหมุนรอบตัวเองของโลก ที่บริเวณเส้น Equator ทั้งนี้การรับชมจะต้องอาศัยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม และชุดจานรับสัญญาณดาวเทียม ที่มีคุณสมบัติแตกกต่างกันไปตามแต่รูปแบบการส่งสัญญาณ ของแต่ละสถานี

    โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมในประเทศไทย มีดังนี้

    • ความถี่ย่าน C Band Analog ได้แก่ช่อง CNN, BBC, ESPN, Star TV, CCTV
    • ความถี่ย่าน KU Band Analog ได้แก่ช่อง 7
    • ความถี่ย่าน C Band Digital ได้แก่ช่อง Thai Global Network
    • ความถี่ย่าน KU Band Digital ได้แก่ช่อง UBC, ETV, TGN, และสถานีการศึกษาผ่านดาวเทียมไทยคม

    การรับสัญญาณผ่านดาวเทียม ถ้าเป็นย่านความถี่ KU Band อาจมีปัญหาภาพเสียงขาดหายเมื่อมีฝนตก เมฆครึ้ม เมฆหนา แต่มีความได้เปรียบด้านขนาดของจานรับ ที่มีขนาดเล็ก กะทัดรัด (70 - 90 cm) ติดตั้งง่ายกว่าย่าน C Band (150 - 300 cm)

  • ระบบสายเคเบิล

    ระบบเผยแพร่ภาพผ่านสายเคเบิล หรือเคเบิลทีวี เป็นบริการแบบบอกรับสมาชิก โดยใช้สาย Fiber Optic ร่วมกับ Coaxial และใช้อุปกรณ์ถอดรหัสสัญญาณประกอบการรับชม ปัจจุบันมีการจดทะเบียนบริษัทให้บริการทั่วประเทศกว่า 60 บริษัทในอัตราค่าบริการ 150 - 300 บาทต่อเดือน


>> http://www.nectec.or.th/courseware/multimedia/0012.html

คุณครูใช้พลังเสียงแต่ละวันมากไหม? ลองดู (ไมค์wireless,รองรับFM) Rolton K400FM ไมค์ลอย ไมค์ไร้สาย ไมค์ช่วยสอน ลำโพงพกพา ลำโพง ไมค์ลอย K400 FM ในราคา ฿494 - ฿592 ที่ Shopee

https://s.shopee.co.th/50IAUAsJw0?share_channel_code=6


ระบบโทรทัศน์ในประเทศไทย ระบบโทรทัศน์ในประเทศไทย

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

ฉลาดคิด-เตือนฝนผ่านมือถือ

ฉลาดคิด-เตือนฝนผ่านมือถือ


เปิดอ่าน 12,041 ครั้ง
iOS 6 มีอะไรใหม่บ้าง?

iOS 6 มีอะไรใหม่บ้าง?


เปิดอ่าน 11,886 ครั้ง
ระบบโทรทัศน์

ระบบโทรทัศน์


เปิดอ่าน 83,666 ครั้ง
ADSL Technology

ADSL Technology


เปิดอ่าน 15,631 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

กูเกิล เผยอันดับคำค้นสุดฮิตของไทย ประจำปี 2012

กูเกิล เผยอันดับคำค้นสุดฮิตของไทย ประจำปี 2012

เปิดอ่าน 11,587 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
ประวัติโทรทัศน์ไทย
ประวัติโทรทัศน์ไทย
เปิดอ่าน 79,008 ☕ คลิกอ่านเลย

แนะวิธีซื้อสมาร์ทโฟนอย่างคุ้มค่า
แนะวิธีซื้อสมาร์ทโฟนอย่างคุ้มค่า
เปิดอ่าน 7,763 ☕ คลิกอ่านเลย

ประโยชน์ของ ADSL
ประโยชน์ของ ADSL
เปิดอ่าน 15,371 ☕ คลิกอ่านเลย

กูเกิล เผยอันดับคำค้นหายอดนิยมของคนไทย ประจำปี 2014
กูเกิล เผยอันดับคำค้นหายอดนิยมของคนไทย ประจำปี 2014
เปิดอ่าน 12,141 ☕ คลิกอ่านเลย

ไม่มีโลกส่วนตัว ในโลกไซเบอร์ ภัยออนไลน์ที่นักท่องเน็ตควรระวัง
ไม่มีโลกส่วนตัว ในโลกไซเบอร์ ภัยออนไลน์ที่นักท่องเน็ตควรระวัง
เปิดอ่าน 11,324 ☕ คลิกอ่านเลย

เตรียมตัวไว้! "เฟซบุ๊ก" จะให้ใช้รูปโปรไฟล์เป็นวีดีโอสั้นๆได้แล้ว
เตรียมตัวไว้! "เฟซบุ๊ก" จะให้ใช้รูปโปรไฟล์เป็นวีดีโอสั้นๆได้แล้ว
เปิดอ่าน 8,895 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

ปากเหี่ยวเป็นรอยย่น แก้ไขอย่างไรดีนะ
ปากเหี่ยวเป็นรอยย่น แก้ไขอย่างไรดีนะ
เปิดอ่าน 42,075 ครั้ง

7 Thinking method to be genius วิธีคิดอย่างคนเก่ง
7 Thinking method to be genius วิธีคิดอย่างคนเก่ง
เปิดอ่าน 12,984 ครั้ง

ปฏิรูปการศึกษา ?
ปฏิรูปการศึกษา ?
เปิดอ่าน 8,677 ครั้ง

การประดิษฐ์ของใช้และของตกแต่ง
การประดิษฐ์ของใช้และของตกแต่ง
เปิดอ่าน 263,544 ครั้ง

ค้นพบโลกใบที่ 2 มีอุณหภูมิไม่ร้อนไม่หนาวจนมากเกินไป
ค้นพบโลกใบที่ 2 มีอุณหภูมิไม่ร้อนไม่หนาวจนมากเกินไป
เปิดอ่าน 13,039 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ