Advertisement
ธรรมะ คือ อะไร?
“ธรรมะ” หมายถึง สภาวะของสิ่งที่ดำรงอยู่ ซึ่งสูงสุด เป็นหนึ่ง และสมบูรณ์แบบ ดังนั้น จึงไม่อาจนำเอาธรรมะนั้นไปเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นได้นอกจากตัวของธรรมะเอง ในอดีตนั้น การเปรียบเทียบก็มักจะปรากฏในรูปแบบ 3 มิติ คือ “ธรรมะ-อธรรม-ธรรมาธรรม” เช่น
(1) มิติของ “ธรรมะ” คือ “สภาวะสูงสุด” ไม่มีด้านตรงข้าม โดยจะมุ่งเน้นไปที่ความดี (เท่านั้น) ที่มนุษย์ต้องกระทำ
(2) มิติของ “อธรรม” คือ “สภาวะเป็นหนึ่ง” ไม่มีการแบ่งแยก โดยจะมุ่งเน้นไปที่ความชั่ว (เท่านั้น) ที่มนุษย์ต้องละเว้น ไม่ควรกระทำ
(3) มิติของ “ธรรมาธรรม” คือ “สภาวะสมบูรณ์แบบ” โดยจะมุ่งเน้นดำรงตนให้อยู่เหนือทุกสิ่ง หากธรรมะใดอยู่ใต้กรรมดี-กรรมชั่ว, อยู่ใต้กรรมสุข-กรรมทุกข์, อยู่ใต้กรรมเกิด-กรรมตายของสิ่งทั้งปวง สิ่งนั้นจึงไม่ใช่ธรรมะที่แท้จริง โดยทั้ง 3 มิตินั้น เกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกันทั้งหมด โดยจะครอบคลุม “สภาวธรรม” ทั้ง 4 ประการ คือ
(1) ตัวตนของธรรมะ คือ “ความเป็นหนึ่ง” ไม่มีด้านตรงข้าม
(2) กฎของธรรมะ คือ “การดำรงอยู่ตลอดกาล” ไม่อาศัยสิ่งอื่น
(3) หน้าที่ของธรรมะ คือ “การปกครอง” เหนือความดี-ความชั่ว
(4) ผลของธรรมะ คือ “การให้” เพื่อสนองตอบการปกครอง
วันที่ 25 มี.ค. 2552
Advertisement
เปิดอ่าน 7,135 ครั้ง เปิดอ่าน 7,153 ครั้ง เปิดอ่าน 7,137 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,135 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,140 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,138 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,139 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,136 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,141 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,138 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,137 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 308,999 ครั้ง |
เปิดอ่าน 16,239 ครั้ง |
เปิดอ่าน 10,719 ครั้ง |
เปิดอ่าน 171,609 ครั้ง |
เปิดอ่าน 27,847 ครั้ง |
|
|