Advertisement
ท่านพุทธทาสกล่าวว่า “คำว่า “ธรรมะ” ในภาษาบาลีก็ตาม ในภาษาสันสกฤตก็ตาม เป็นคำที่มีความหมายกว้างที่สุดคือ หมายถึงสิ่งทุกสิ่งทั้งที่มนุษย์รู้จักและยังไม่รู้จัก คำ ๆ นี้เป็นคำพูดคำเดียวที่ประหลาดที่สุดในโลกจนไม่อาจจะแปลเป็นภาษาอื่นได้นอกจากภาษาที่ทำให้กำเนิดแก่คำ ๆ นี้....โดยคำจำกัดความของ “ธรรมะ” นั้น จะครอบคลุมถึง 4 ประการ คือ
(1) ตัวธรรมชาติ
(2) ตัวกฎของธรรมชาติ
(3) ตัวหน้าที่ที่มนุษย์จะต้องกระทำให้ถูกต้องตามกฎธรรมชาติ
(4) ตัวผลต่าง ๆ อันเกิดขึ้นจากการกระทำหน้าที่นั้น ๆ นั่นเอง
แต่เมื่อผู้เขียนค้นหากลับพบว่า “ธมฺม” (บาลี) และ “ธรฺม” (สันสกฤต) ที่แปลว่า “สิ่งซึ่งทรงตัวอยู่” หรือ “สิ่งซึ่งดำรงอยู่” จะไปคล้องจองกับคำว่า “Y-H-W-H” (ฮีบรู) ที่แปลว่า “ผู้ทรงดำรงอยู่” โดยคำจำกัดความ “ธรรมะ” จะครอบคลุมถึงสภาวธรรม 4 ประการ ได้แก่
(1) ตัวของธรรมะ คือ “ความเป็นหนึ่ง” ไม่มีด้านตรงข้าม แต่ตัวของธรรมชาติ คือ “สิ่งตรงข้ามซึ่งประกอบกันเป็นหนึ่ง”
(2) กฎของธรรมะ คือ “การดำรงอยู่ได้เอง” ตลอดกาล แต่กฎของธรรมชาติ คือ “การอาศัยสิ่งอื่นเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และแตกดับไป”
(3) หน้าที่ของธรรมะคือ “การปกครอง” เหนือกฎเกณฑ์ต่าง ๆแต่หน้าที่ของธรรมชาติ คือ “การปฏิบัติ” ภายใต้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ
(4) ผลของธรรมะ คือ “เหตุแห่งการให้” เพื่อสนองตอบการปกครอง แต่ผลของธรรมชาติ คือ “ผลแห่งการรับ” เมื่อปฏิบัติตามนั้น
เพราะฉะนั้น “ธรรมะ” กับ “ธรรมชาติ” จึงแตกต่างและสวนทางกันอย่างสิ้นเชิง ไม่ใช่สิ่งที่จะสามารถนำมาทดแทนกันได้เลย
วันที่ 25 มี.ค. 2552
Advertisement
เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,212 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง เปิดอ่าน 7,148 ครั้ง เปิดอ่าน 7,176 ครั้ง เปิดอ่าน 7,149 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,183 ครั้ง เปิดอ่าน 7,147 ครั้ง เปิดอ่าน 7,176 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,151 ครั้ง เปิดอ่าน 7,456 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,253 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,142 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,134 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,146 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,147 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,134 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,138 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 37,855 ครั้ง |
เปิดอ่าน 12,172 ครั้ง |
เปิดอ่าน 15,326 ครั้ง |
เปิดอ่าน 20,577 ครั้ง |
เปิดอ่าน 28,510 ครั้ง |
|
|