Advertisement
การบวกเมตริก โดย นางนพภา คุณวาสี
เมตริกสองเมตริกที่เป็นเมตริกแบบเดียวกันซึ่งมีจำนวนแถวเท่ากันคือ m และจำนวนสดมภ์เท่ากันคือ n จะบวกเข้าด้วยกันได้ และได้ผลบวกเป็นเมตริกที่มี m แถว และ n สดมภ์เช่นเดียวกัน กล่าวคือ
ถ้า A = (aij)m x n
B = (bij)m x n
จะได้ว่า A + B = C = (cij)m x n
โดย cij = aij + bij
ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนจากตัวอย่างต่อไปนี้
ถ้า A = (0 1 2)
5 2 -3
และ B = (1 1 -2)
4 0 0
จะหาเมตริกผลบวก A + B ได้โดย
A + B = ( 0 + 1 1 + 1 2 + (-2) )
5 + 4 2 + 0 -3 + 0
= ( 1 2 0 )
9 2 -3
การบวกเมตริกมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับคุณสมบัติของการบวกจำนวน กล่าวคือ ถ้า A,B,C เป็นเมตริก m x n จะได้ว่า
( 1 ) A + B = B + A กฎการสลับที่
( 2 ) ( A + B ) + C = A + ( B + C ) กฎการจัดหมู่
( 3 ) ถ้า Z เป็นเมตริกศูนย์ m x n จะได้ว่า
Z + A = A + Z = A
เมตริกศูนย์เป็นเอกลักษณ์สำหรับการบวกเมตริก อาจจะใช้ 0 แทนเมตริกศูนย์ก็ได้
|
|
Advertisement
เปิดอ่าน 97,211 ครั้ง เปิดอ่าน 19,939 ครั้ง เปิดอ่าน 20,644 ครั้ง เปิดอ่าน 35,173 ครั้ง เปิดอ่าน 160,556 ครั้ง เปิดอ่าน 41,887 ครั้ง เปิดอ่าน 27,082 ครั้ง เปิดอ่าน 30,301 ครั้ง เปิดอ่าน 27,736 ครั้ง เปิดอ่าน 17,159 ครั้ง เปิดอ่าน 39,937 ครั้ง เปิดอ่าน 34,565 ครั้ง เปิดอ่าน 19,976 ครั้ง เปิดอ่าน 80,582 ครั้ง เปิดอ่าน 38,029 ครั้ง เปิดอ่าน 51,968 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 27,082 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 131,812 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 30,332 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 140,621 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 46,352 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 44,337 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 32,709 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 21,447 ครั้ง |
เปิดอ่าน 37,356 ครั้ง |
เปิดอ่าน 11,541 ครั้ง |
เปิดอ่าน 9,325 ครั้ง |
เปิดอ่าน 32,611 ครั้ง |
|
|