ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

วอยเอเจอร์ 2 เผยระบบสุริยะไม่กลม


วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปิดอ่าน : 16,106 ครั้ง
วอยเอเจอร์ 2 เผยระบบสุริยะไม่กลม

Advertisement

นาซา/เอพี - วอยเอเจอร์ 2 ใกล้พ้นขอบสุริยะ เผยการสำรวจครั้งใหม่บ่งชี้ระบบสุริยะไม่กลมสม่ำเสมอ ซึ่งดูเหมือนถูกรบกวนจากสนามแม่เหล็กระหว่างดวงดาว
       

       การค้นพบครั้งนี้ตามมาหลังจาก "วอยเอเจอร์ 2" (Voyager 2) ยานสำรวจอวกาศไร้มนุษย์อายุ 30 ปีขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ได้ท่องไปในอวกาศและเข้าสู่ขอบของระบบสุริยะเมื่อฤดูร้อนที่ผ่านมาตามหลังยานคู่แฝด "วอยเอเจอร์ 1" (Voyager 1) ซึ่งผ่านบริเวณดังกล่าวไปเมื่อปี 2547
       
       เอดวาร์ด สโตน (Edward Stone) นักวิทยาศาสตร์ประจำปฏิบัติการวอยเอเจอร์จากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนียหรือคาลเทค (California Institute of Technology: Caltech) กล่าวว่านักวิทยาศาสตร์สงสัยกันมานานว่าระบบสุริยะจะโค้งงอและไม่มีหลักฐานแน่ชัดจนกระทั่งได้หลักฐานล่าสุดจากวอยเอจเจอร์ 2 นี้
       
       วอยเอจเจอร์ 2 ได้ผ่านกำแพงของระบบสุริยะที่เรียกว่า "เทอร์มิเนชันชอค" (termination shock) ซึ่งห่างจากจุดที่วอยเอเจอร์ 1 ผ่านประมาณ 1.5 พันล้านกิโลเมตร ซึ่งในบริเวณดังกล่าวนั้นอนุภาคที่มีประจุจากดวงอาทิตย์จะลดความเร็วอย่างปัจจุบันทันด่วนเท่าที่อนุภาคเหล่านั้นชนเข้ากับอนุภาคอื่นและสนามแม่เหล็กในก๊าซระหว่างดวงดาว นักวิทยาศาสตร์ยังเชื่อว่าความไม่สม่ำเสมอนี้เกิดจากสนามแม่เหล็กที่ทำมุมกับระนาบของกาแลกซีทางช้างเผือก (Milky Way)
       
       "สนามแม่เหล็กนี้กำลังรบกวนพื้นผิวทรงกลมอื่นๆ" สโตนกล่าวและแม้ว่าวอยเอเจอร์จะเป็นยานลำที่ 2 ซึ่งผ่านเทอร์มินัลชอค แต่กระนั้นนักวิทยาศาสตร์ก็ยังคงตื่นเต้นกับเหตุการ์ณสำคัญนี้ วอยเอเจอร์ 2 มีอุปกร์ณทำงานที่ต่างจากยานคู่แฝดซึ่งสามารถวัดความเร็วและอุณหภูมิของลมสุริยะได้
       
       ยานวอยเอเจอร์ใช้พลังงานนิวเคลียร์ในการขับเคลื่อน โดยวอยเอเจอร์ 2 ถูกส่งขึ้นไปก่อนเมื่อวันที่ 20 ส.ค.2520 จากนั้นวอยเอเจอร์ 1 ถูกส่งตามขึ้นไปเมื่อวันที่ 5 ก.ย.2520 โดยยานลำหลังนั้นทำสถิติเป็นวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นซึ่งเดินทางได้ไกลที่สุดด้วยความเร็วในการเดินทาง 16 กิโลเมตรต่อวินาที ส่วนยานอีกลำก็มีความเร็วใกล้เคียงกัน
       
       ทั้งนี้ต้องใช้เวลาราวทศวรรษกว่าที่ยานทั้งสองจะผ่านชั้น "เฮลิโอพอส" (heliopause) ซึ่งเป็นด่านสุดท้ายของขอบเขตระบบสุริยะที่เรียกว่า "เอลิโอสเฟียร์" (heliopause) อันจะเป็นการเริ่มต้นการเดินทางระหว่างดวงดาวในห้วงอวกาศและสิ้นสุดการเดินทางในระบบสุริยะของเรา ปัจจุบันยานทั้งสองยังคงส่งสัญญาณกลับมายังโลกซึ่งรับสัญญาณโดยจานดีพสเปซเน็ตเวิร์ก (Deep Space Network) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 70 เมตรของนาซาในโกล์ดสโตน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐฯ

ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงขอบระบบสุริยะในหน่วยดาราศาสตร์ (AU) ซึ่งคิดจากระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงโลกนับเป็น 1 หน่วยดาราศาสตร์มีค่าประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร โดยระยะทางที่วอยเอจเจอร์เดินทางออกไปนั้นมีค่าประมาณ 100 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์หรือประมาณ 100 หน่วยดาราศาสตร์

จานรับสัญญาณดีพสเปซเน็ตเวิร์ก

ที่มา http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9500000146882


วอยเอเจอร์ 2 เผยระบบสุริยะไม่กลมวอยเอเจอร์2เผยระบบสุริยะไม่กลม

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

ชีวิตของจักจั่น : ชีววิทยา

ชีวิตของจักจั่น : ชีววิทยา


เปิดอ่าน 36,078 ครั้ง
ไส้เดือนดิน

ไส้เดือนดิน


เปิดอ่าน 12,501 ครั้ง
พืชอเนกประสงค์

พืชอเนกประสงค์


เปิดอ่าน 27,843 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

รู้ไหมว่า...ประเทศไทยโชคดีที่ตั้งอยู่บน "เส้นศูนย์สูตรสนามแม่เหล็กโลก"

รู้ไหมว่า...ประเทศไทยโชคดีที่ตั้งอยู่บน "เส้นศูนย์สูตรสนามแม่เหล็กโลก"

เปิดอ่าน 30,922 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
การสื่อสารของแมลง : การเต้นรำของผึ้ง
การสื่อสารของแมลง : การเต้นรำของผึ้ง
เปิดอ่าน 18,301 ☕ คลิกอ่านเลย

ระบบหายใจ (respiration)
ระบบหายใจ (respiration)
เปิดอ่าน 3,218 ☕ คลิกอ่านเลย

ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์...ตลอดปี 2556
ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์...ตลอดปี 2556
เปิดอ่าน 21,681 ☕ คลิกอ่านเลย

เกลือในทะเล มาจากไหน?
เกลือในทะเล มาจากไหน?
เปิดอ่าน 28,424 ☕ คลิกอ่านเลย

การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
เปิดอ่าน 56,134 ☕ คลิกอ่านเลย

แมงมุม
แมงมุม
เปิดอ่าน 26,062 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

8 วิธีถนอมหลังห่างไกลอาการปวด
8 วิธีถนอมหลังห่างไกลอาการปวด
เปิดอ่าน 14,580 ครั้ง

คุณแม่มือใหม่ดูเลย ที่ญี่ปุ่นมีโรงเรียนสอนแม่เลี้ยงลูก (รายการ ดูให้รู้)
คุณแม่มือใหม่ดูเลย ที่ญี่ปุ่นมีโรงเรียนสอนแม่เลี้ยงลูก (รายการ ดูให้รู้)
เปิดอ่าน 10,844 ครั้ง

ใช้บัตรเดบิตอย่างไรให้เป็น
ใช้บัตรเดบิตอย่างไรให้เป็น
เปิดอ่าน 9,805 ครั้ง

การถ่ายภาพมาโคร MACRO PHOTOGRAPHY
การถ่ายภาพมาโคร MACRO PHOTOGRAPHY
เปิดอ่าน 28,948 ครั้ง

9 ทริคดี ๆ เพิ่มความจำ อัพสมองให้สดใส
9 ทริคดี ๆ เพิ่มความจำ อัพสมองให้สดใส
เปิดอ่าน 10,834 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ