ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและนิสัยรักการทำงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ชื่อผู้วิจัย นางอุ่นจิต คุ้มสวัสดิ์
ตำแหน่ง ครู ชำนาญการ
วุฒิการศึกษา กศ.บ. ภาษาไทย
ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนเติมแสงไขปากช่องวิทยา
ภาคเรียน / ปีการศึกษาที่ทำวิจัย ภาคเรียนที่ 1 / 2550
ความเป็นมาของการวิจัย
จากการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ N.T. พบว่านักเรียนขาดทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิด สังเคราะห์ และนอกจากนี้แล้วนักเรียน ยังขาดนิสัยรักการทำงานอีกด้วย จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่า นักเรียนคุ้นเคยกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูเป็นผู้ให้อย่างเดียว กล่าวคือ ครูจะเป็นผู้บรรยาย อธิบายให้นักเรียนฟัง นักเรียนไม่ได้รับการฝึกฝนให้ศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง อีกทั้ง เมื่อจะทำการวัด – ประเมินผล ครูก็มักจะให้นักเรียนทำแบบทดสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ทำให้นักเรียนสามารถที่จะเดาคำตอบได้ หรืออาจจะลอกคำตอบจากเพื่อน และเมื่อใดที่ครูกำหนดภาระงานให้ เช่น การทำโครงงาน มักไม่ได้ผลงานที่ดีร้อยเปอร์เซ็นต์ และอาจพบปัญหานักเรียนไม่ส่งงาน เนื่องจากกระบวนการจัดทำยุ่งยากซับซ้อนหลายขั้นตอน เนื้อหามากเกินไป ทำให้นักเรียนเบื่อหน่าย จึงคิดว่า การนำโครงงานแผ่นเดียวหรือวิจัยสำหรับนักเรียนมาใช้ในการพัฒนาและฝึกทักษะแก่นักเรียน น่าจะส่งผลให้นักเรียนมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และมีนิสัยรักการทำงานมากยิ่งขึ้น เพราะการทำโครงงานแผ่นเดียว มีเนื้อหาที่ไม่มากและกระบวนการก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ซึ่งนักเรียนสามารถฝึกทำได้ อีกทั้งการฝึกเขียนวิจัยสำหรับนักเรียน, การเขียนโครงงานยังเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านนิสัยรักการทำงาน และมีส่วนช่วยเสริมทักษะด้านกระบวนการทำงานได้ด้วยทางหนึ่งเช่นกัน
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการวิจัย
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีทักษะกระบวนการคิดและนิสัยรักการทำงาน
เป้าหมาย
เพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและนิสัยรักการทำงานของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย
วิธีการวิจัย
กลุ่มเป้าหมาย
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จำนวน 28 คน ภาคเรียนที่ 1 / 2550
เครื่องมือในการวิจัย ( นวัตกรรม )
1. โครงงานแผ่นเดียว
2. วิจัยของหนู ( วิจัยสำหรับนักเรียน )
เครื่องมือรวบรวมข้อมูล
1. แบบประเมินผลงานนักเรียน และเกณฑ์การประเมิน ( Rubrics )
2. แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน และเกณฑ์การประเมิน ( Rubrics )
วิธีการรวบรวมข้อมูล
1. นำรูปแบบของโครงงานแผ่นเดียวและวิจัยสำหรับนักเรียนมาปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับวิชาภาษาไทย
2. ออกแบบแบบประเมินผลงานนักเรียน และแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานที่มีกระบวนการ พร้อมทั้งเกณฑ์การประเมิน ( Rubrics )
3. นักเรียนศึกษารูปแบบการทำโครงงานแผ่นเดียวจากตัวอย่างที่ดีหลากหลายตัวอย่าง
4. นักเรียนจัดทำโครงงานแผ่นเดียว โดย ;
- ครั้งที่ 1 ฝึกทำโครงงานเลียนแบบตัวอย่าง
- ครั้งที่ 2 – 5 จัดทำโครงงานแผ่นเดียวตามแผนการจัดการเรียนรู้
5. นักเรียนศึกษารูปแบบการเขียนวิจัยของหนูจากตัวอย่างที่ดีหลากหลายตัวอย่าง
6. นักเรียนจัดทำโครงงานแผ่นเดียว โดย ;
- ครั้งที่ 1 ฝึกเขียนวิจัยของหนูเลียนแบบตัวอย่าง
- ครั้งที่ 2 – 5 เขียนวิจัยของหนูตามแผนการจัดการเรียนรู้
7. ประเมินผลงานนักเรียนทุกครั้ง โดยนักเรียนประเมินตนเอง – เพื่อนประเมิน – ครูประเมิน เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักเปรียบเทียบผลงานของตนกับเพื่อน และมีการพัฒนาผลงานของตนต่อไป
8. ประเมินทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนด้วยแบบสังเกตพฤติกรรม และจากการสังเกตผลงานของนักเรียนที่ปรากฏให้เห็นหรือแสดงถึงการพัฒนาด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านความคิดที่เป็นกระบวนการมากขึ้น เป็นต้น
9. ทดสอบนักเรียนด้วยแบบทดสอบที่เน้นการคิด วิเคราะห์
10. สรุปผลการพัฒนานักเรียนด้วยโครงงานแผ่นเดียวและวิจัยของหนู โดยพิจารณาจากคะแนนการทดสอบ เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และข้อมูลจากแบบประเมินการทำโครงงาน, การเขียนวิจัยของหนู, การสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
การวิเคราะห์ข้อมูล
ใช้ค่าร้อยละเปรียบเทียบ, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย และการหาประสิทธิภาพของกระบวนการด้วยค่า t - test
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยโครงงานแผ่นเดียว และวิจัยของหนู สรุปได้ ดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย
นวัตกรรม
ชุดที่
|
คะแนนเฉลี่ย
|
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
( S.D.)
|
ค่าสัมประสิทธิ์
การกระจาย
( C.V. )
|
ก่อนเรียน
|
หลังเรียน
|
ก่อนเรียน
|
หลังเรียน
|
1
|
5.93
|
8.57
|
1.02
|
0.97
|
9.22
|
2
|
6.18
|
8.50
|
0.82
|
0.64
|
7.53
|
รวมเฉลี่ย
|
6.06
|
8.54
|
0.92
|
0.81
|
8.38
|
จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนเฉลี่ย หลังเรียนของนักเรียนสูงขึ้น แสดงว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดโดยใช้โครงงานแผ่นเดียวและวิจัยของหนู ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
เมื่อเปรียบเทียบส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D ) หลังเรียนต่ำกว่าก่อนเรียน แสดงว่า หลังเรียนมีคะแนนมากกว่าก่อนเรียน ซึ่งถือว่า เป็นการสอนที่มีคุณภาพ
ส่วนค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย ( C.V. ) และหาค่าก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า ค่า C.V หลังเรียนเป็นไปตามสมมุติฐาน
คือ ค่า C.V. น้อยกว่า 10 แสดงว่าผลการสอนดีเยี่ยม
ค่า C.V. อยู่ระหว่าง 10-15 แสดงว่าผลการสอนดี
ค่า C.V. มากว่า 15 แสดงว่าผลการสอนไม่น่าพอใจ
ตารางที่ 2 แสดงแสดงการหาประสิทธิภาพ และค่าทีของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นวัตกรรม
ชุดที่
|
ค่าเฉลี่ยร้อยละ
|
P*
|
ก่อนเรียน
|
หน้าหนาวแล้ว คุณครูสนใจไหม DoDo เก้าอี้แคมป์ปิ้ง รับน้ำหนักได้เยอะ พร้อมกระเป๋าจัดเก็บ โครงอลูมิเนียมรับน้ำหนักได้200KG ในราคา ฿189 - ฿509 ที่ Shopeehttps://s.shopee.co.th/9pNuttuIUm?share_channel_code=6
Advertisement
เปิดอ่าน 7,162 ครั้ง เปิดอ่าน 7,168 ครั้ง เปิดอ่าน 7,156 ครั้ง เปิดอ่าน 7,254 ครั้ง เปิดอ่าน 7,159 ครั้ง เปิดอ่าน 7,270 ครั้ง เปิดอ่าน 7,194 ครั้ง เปิดอ่าน 7,159 ครั้ง เปิดอ่าน 7,154 ครั้ง เปิดอ่าน 7,161 ครั้ง เปิดอ่าน 7,159 ครั้ง เปิดอ่าน 7,166 ครั้ง เปิดอ่าน 7,160 ครั้ง เปิดอ่าน 7,156 ครั้ง เปิดอ่าน 7,169 ครั้ง เปิดอ่าน 7,159 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,164 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,156 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,176 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,217 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,160 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,162 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,166 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 639 ครั้ง |
เปิดอ่าน 28,102 ครั้ง |
เปิดอ่าน 14,420 ครั้ง |
เปิดอ่าน 44,763 ครั้ง |
เปิดอ่าน 10,054 ครั้ง |
|
|