ระดับของผู้บริหาร
1. ผู้บริหารระดับสูง (Top administrators)
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
2. ผู้บริหารระดับกลาง (Middle administrators)
- ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา
3. ผู้บริหารระดับต้น (First-level administrators)
- หัวหน้ากลุ่มสาระ/รองผู้อำนวยการ/ ผู้อำนวยการ
ระดับของผู้บริหารและการบริหารในส่วนของธุรกิจ
Williams (2006): ผู้บริหาร มี 4 ระดับ คือ
1. ผู้บริหารระดับสูง
2. ผู้บริหารระดับกลาง
3. ผู้จัดการระดับต้น
4. หัวหน้าทีม
ผู้บริหารระดับสูง
1. CEO (หัวหน้าพนักงานระดับสูง)
2. COO (หัวหน้าพนักงาน)
3. หน้าที่รับผิดชอบ :
- กำหนดนโยบายสำหรับการเปลี่ยนแปลงในองค์กร (กำหนดวิสัยทัศน์ระยะยาว
หรือพันธกิจ, คิดเกี่ยวกับอนาคตมากกว่าคนอื่นๆ)
- พัฒนาลูกจ้าง คือ คำมั่นสัญญา
- สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นบวก ด้วยภาษาและการกระทำ.
- สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีขององค์กร
ผู้บริหารระดับกลาง
1. ผู้จัดการโรงงาน ผู้จัดการภูมิภาค ผู้จัดการกอง
2. หน้าที่รับผิดชอบ :
- กำหนดเป้าประสงค์ต่อผู้บริหารระดับสูง
- วางแผนและจัดสรรทรัพยากร
- ประสานและเชื่อมโยงกลุ่ม, เขต, และแผนก
- ให้คำตักเตือน การจัดการแก่หน่วยงานย่อย
ผู้จัดการระดับต้น
1. ผู้จัดการสำนักงาน, ผู้จัดการฝ่าย, ผู้จัดการแผนก
2. หน้าที่รับผิดชอบ :
- ไม่ดูแลผู้จัดการอื่นๆ
- การกระตุ้น, ให้การตักเตือน, และให้รางวัลตอบแทนแก่คนทำงาน
- สอนการทำงาน
- การทำรายละเอียดแผนงาน/การทำแผน
หัวหน้าทีม
1. หัวหน้าทีมเป็นอย่างไร, ทีมติดต่อ, กลุ่มติดต่อ
2. หน้าที่รับผิดชอบ : (การจัดการงานใหม่)
- ให้ความสะดวกแก่ทีม
- ช่วยสมาชิกทีมวางแผนการทำงาน
- จัดการความสัมพันธ์ภายนอก, ประสานทีมและทีมอื่นๆ,แผนกอื่น
- อำนวยความสะดวกความสัมพันธ์ในทีม
กุญแจสำคัญในการบริหารงานให้ได้ผล
1. หน้าที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ
2. ทักษะความชำนาญ
3. มีมาตรฐานทางจริธรรม
4. โครงสร้างและองค์กร
5. พื้นที่ปฏิบัติการ
6. เนื้อความ
Henri Fayole (1949) Cited ใน Cunningham & Cordeiro, 2003)
ภารกิจในการบริหารการศึกษา
- ภารกิจในการบริหาร (Administrative tasks): ภาระงานที่องค์กรต้องบริหารจัดการให้บรรลุถึง- - จุดมุ่งหมาย รวมถึงการใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
- พ.ร.บ. 2542 (ฉบับปรับปรุง 2545) ม. 39
- วิชาการ
- การงบประมาณ
- การบริหารงานบุคคล
- การบริหารงานทั่วไป
บทบาทของผู้บริหารในการบริหาร
- บทบาทเชิงสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal roles)
- บทบาทเชิงสารสนเทศ (Informational roles)
- บทบาททางด้านการตัดสินใจ (Decisional roles)
Mintzberg (1975)
บทบาทเชิงสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal roles)
1. เป็นสัญลักษณ์ขององค์กร (symbolic or figurehead)
2. เป็นผู้นำขององค์กร (leader) อำนวยการ จูงใจ ติดต่อสื่อสาร
3. บทบาทผู้สร้างสัมพันธ์ (liaison) กับบุคคลภายในและภายนอกองค์กร
บทบาทเชิงสารสนเทศ
(Informational roles)
1. เป็นสัญลักษณ์ขององค์กร (symbolic or figurehead)
2. เป็นผู้นำขององค์กร (leader) อำนวยการ จูงใจ ติดต่อสื่อสาร
3. บทบาทผู้สร้างสัมพันธ์ (liaison) กับบุคคลภายในและภายนอกองค์กร
บทบาทเชิงสารสนเทศ
(Informational roles)
1. ติดตามกำกับผล (monitor) ตรวจสอบข้อมูลข่าวสาร
2. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร (disseminator) แลกเปลี่ยนข้อมูลทั้งในและนอกองค์กร
3.ประชาสัมพันธ์ (spokesperson)
บทบาททางด้านการตัดสินใจ
(Decisional roles)
1. บทบาทเป็นผู้ประกอบการ (entrepreneur) คิดริเริ่มสิ่งใหม่
2. บทบาทผู้ขจัดสิ่งรบกวน (disturbance handler) แก้ปัญหาเมื่อเผชิญปัญหา
3. ผู้จัดสรรทรัพยากร (resource allocator)
4. นักเจราจาต่อรอง (negotiator)
ทักษะทางการบริหาร
1. ทักษะทางความคิด
2. ทักษะเกี่ยวกับมนุษย์
3. ทักษะทางเทคนิค
ทักษะ “คือ ความสามารถเพื่อทำบางสิ่งอย่างได้ผล ทักษะขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมโดยการ
เรียนรู้และฝึกเป็นนิสัย” Yukl (2002) p.176
ทักษะทางความคิด Conceptual skills
- ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทั่วไป (Analytical ability)
- ความสามารถในการคิดเชิงตรรกะ (Logical thinking)
- ความชำนาญในการสร้างแนวคิดหรือมโนทัศน์ของความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและคลุมเครือ
- ความสามารถในการคิดแนวทางในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการวิเคราะห์เหตุการณ์และแนวโน้ม หรือคาดการณ์เกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลง
- รู้โอกาสและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นโดยใช้เหตุผลเชิงนิรนัยและอุปนัย
ทักษะเกี่ยวกับมนุษย์ Human Skills (Intrapersonal skills)
- เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์และกระบวนการระหว่างบุคคล
- เข้าใจความรู้สึกของบุคคล ทัศนคติและแรงจูงใจ จากสิ่งที่พูดและทำ
- ความสามารถในการสื่อสารได้อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ
- ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์และให้ความร่วมมือ
ระดับการจัดการและทักษะที่ต้องการ
1. การจัดการระดับสูง = ทักษะการคิดขั้นสูง
2. การจัดการระดับกลาง = ทักษะเกี่ยวกับมนุษย์ขั้นสูง
3. การจัดการระดับปฏบัติการ = ความชำนาญทางเทคนิคขั้นสูง
Certo (2007)
ทักษะทางเทคนิค Technical skills
1. มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการ กระบวนการ และขั้นตอน รวมถึง เทคนิคต่างๆในการทำกิจกรรมหรือภาระงาน
2. มีความสามารถในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรมหรือภาระงานต่างๆ
ทักษะการบริหารจัดการในภาวะวิกฤต
1. บางเวลาการบริหารงานเดินผิดทาง
2. เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส เข้าไปแก้ปัญหา : SEP
1. ขั้นตอน : หยุด, มอง และฟัง
2. ขั้นตอน : ขอความช่วยเหลือคนอื่นๆ
3. ขั้นตอน : ดำเนินต่อไปด้วยความระมัดระวังและรอบคอบ
Theil & Grossnickle, (1982)
ขั้นตอน : หยุด มอง และฟัง
1. มองปัญหาบางสิ่งเป็นเรื่องเล็กน้อยที่กระทบต่ออารมณ์.
2. สังเกตเห็นว่าปัญหาทุกอย่างไม่สามารถแก้ไขได้โดยทันทีทันใด
3. ไม่กระโดดไปข้างหน้าอย่างรีบร้อน ซึ่งอาจจะสร้างปัญหาอื่นๆตามมาอีก
4. หลีกเลี่ยงการแสดงอาการโต้ เมื่อผิดพลาด
5. ไม่ตำหนิการแก้ปัญหา เมื่อเพิ่มปัญหา
ขั้นตอน : การขอความช่วยคนอื่นๆ
1. หลีกเลี่ยงคำพูด ที่ว่า “งานนี้สำคัญ ซึ่งฉันเท่านั้นที่สามารถทำมันได้”
2. ระดมพลคนอื่นๆ เพื่อทำให้ภาระงานที่ให้เสร็จ
3. มองหาทรัพยากรในการแก้วิกฤต
4. จัดระเบียบทีมให้เข้าใกล้
5. เป็น “captain” ของทีม
6. เป็น “director” ไม่ใช่ “ผู้ทำชั่ว”
ขั้นตอน : ดำเนินต่อไปด้วยความระมัดระวัง
1. บางครั้งต้องการการตัดสินใจที่อิสระค่อนข้างมากกว่าการเกี่ยวพันกับทีม :
- การควบคุมที่อิสระ
- มีประสบการณ์ก่อนแสดงการแก้ปัญหาอย่างชัดแจ้ง
- ประคับประคอง ไม่รีบร้อน มองในสิ่งที่คุณช่วย.
- ไม่มีใครที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ทุกอย่าง