ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมเรื่องราวจากสมาชิก  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

คู่มือครูสอนสาระการเรียนรู้ภาษาไทย(ชุดที่2)


เรื่องราวจากสมาชิก เปิดอ่าน : 8,024 ครั้ง
คู่มือครูสอนสาระการเรียนรู้ภาษาไทย(ชุดที่2)

Advertisement

❝ คู่มือครูสอนสาระการเรียนรู้ภาษาไทย(ชุดที่2) ❞  

เสียงพยัญชนะ

ลักษณะและหน้าที่ของเสียงแปร  หรือเสียงพยัญชนะ  

๑.  เป็นเสียงที่เกิดจากลมบริเวณเส้นเสียง  ผ่านมาทางช่องระหว่างเส้นเสียง  แล้วกระทบอวัยวะต่างๆ ในช่องปาก  ที่เรียกว่าฐานกรณ์  เช่น  ริมฝีปาก  ริมฝีปากกับฟัน  ฟันกับปุ่มเหงือก

๒.  พยัญชนะไม่สามารถออกเสียงตามลำพังได้  ต้องอาศัยเสียงสระช่วย  จึงจะสามารถออกเสียงได้  เช่น  ใช้  สระออ  ออกเสียง  กอ  ขอ  คอ  งอ

๓.  เสียงพยัญชนะสามารถปรากฏที่ต้นคำ  โดยนำหน้าเสียงสระ  เรียกว่า  พยัญชนะต้น  และปรากฏหลังคำ  โดยอยู่หลังเสียงสระ  เรียกว่าพยัญชนะสะกด

เสียงพยัญชนะต้น

พยัญชนะต้นแบ่งออกเป็น    ชนิด  คือ

๑.      พยัญชนะเดี่ยวมี  ๔๔  รูป  แบ่งตามฐานกำเนิดเสียง  ดังนี้

 

     เกิดฐานคอ                            ข ฃ           ค ฅ ฆ                       ห อ ฮ

     เกิดฐานเพดาน                                      ช ซ ฌ                    

     เกิดฐานปุ่มเหงือก    ด ต                            ท ธ                         ล ส

     เกิดฐานริมฝีปาก     บ ป              ผ ฝ           พ ฟ ภ                     

 

พยัญชนะต้นเดี่ยว ของไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง   ดังนี้
      เสียง                     รูป
๑.   / ก /  ………………………………………………                          
๒.   / ข /  ……………………………………………..
๓.    / ง /  .................................................................
๔.   / จ /  .................................................................
๕.   / ช /   .................................................................
๖.    / ซ /    ................................................................
๗.   / ย /   .................................................................
๘.    / ด /   .................................................................
๙.    / ต / ……………………………………………......
๑๐.   / ท /   .................................................................
๑๑.   / น /     .................................................................
๑๒.   / ป /    .................................................................
๑๓.  / พ /    .................................................................
๑๔.  / ฟ /    .................................................................
๑๕.  / ม /    ..................................................................
๑๖.  / ย / ..................................................................
๑๗.  / ร /    ...................................................................
๑๘.  / ล /    .................................................................
๑๙.  / ว /     .................................................................
๒๐.  / อ /    ………………………………………………
๒๑.   /   ………………………………………………

 

๒.  พยัญชนะประสม  คือพยัญชนะ    ตัวที่ประสมกับสระตัวเดียวกันแบ่งออกเป็น ๒  พวก  คือ

    ๒.๑  อักษรควบ  คือพยัญชนะซึ่งควบกับ  ร ล ว และประสมสระเดียวกันแบ่งเป็น    ชนิด  คือ 

   ๒.๑.๑  อักษรควบแท้  คือ  อักษรควบซึ่งออกเสียงพยัญชนะตัวหน้ากับพยัญชนะตัวหลัง  ควบ

กล้ำพร้อมกันสนิทจนเกืบเป็นสียงเดียวกัน  มีทั้งสิ้น  ๑๕  รูป  ได้แก่  กร  กล  กว  คร  ขร  คล  ขล  คว  ขว  ตร  ปร  ปล  พร  พล  ผล 

          หมายเหตุ  ทร  ที่ใช้เป็นตัวควบ  ในภาษาไทยแท้  จะเป็นอักษรควบไม่แท้  ส่วนคำที่ออกเสียงควบแท้มักมาจากภาษาสันสกฤต  เช่น  อินทรา  จันทรา   จันทรุปราคา   จันทรคราส

          อนึ่ง  ตัวอักษรควบแท้ที่ไทยไม่มีใช้  แต่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาอังกฤษ  และนำมาใช้มี  ๖ เสียง คือ   

      บร  เช่น  เบรก   บรั่นดี   บรอนซ์

      บล  เช่น  เบลม  บลู  บล็อก

      ดร  เช่น  ดรัมเมเยอร์  ดรีม  ดราฟต์

      ฟร  เช่น  ฟรายด์  ฟรี  ฟรักโทส

      ฟล  เช่น  ฟลูออรีน  แฟลต  ฟลุก  ฟลุต 

      ทร  เช่น  แทร็กเตอร์  ทรัมเป็ต          

 

           ๒.๑.๒  อักษรควบไม่แท้  คือ  อักษร    ตัวที่ควบกล้ำกันได้แก่ตัว    แต่ออกเสียงเฉพะตัวหน้าแต่ไม่ออกเสียง ร   หรือบางตัวออกเสียงเปลี่ยนไปเป็นพยัญชนะอื่น  เช่น  เศร้า  ทราย  จริง  ไซร้  ปราศรัย  สร้อย  เสร็จ  เสริม  ทรง  สร้าง   สระ

๒.๒  อักษรนำ คือ  พยัญชนะ    ตัวประสมด้วยสระเดียวกัน  ซึ่งมีวิธีการออกเสียงดังนี้

            ๒.๒.๑  ไม่ออกเสียงตัวนำ  ออกเสียงกลืนกับเสียงตัวนำ   ได้แก่ 

                         นำ    มีอยู่    คำ คือ  อย่า  อยู่  อย่าง  อยาก

                         นำ  อักษรต่ำเดี่ยว  ได้แก่                  จะออกเสียงเพียงพยางค์เดียวสูงตามเสียง ห  เช่น  หงาย  หงอน  หญ้า  ใหญ่    หน้า  หนู  หมา  หย่า  แหย่  หรูหรา  หรอก  ไหล  หลาน  หวาน  แหวน

           ๒.๒.๒  ออกเสียงตัวนำ  ได้แก่

                     ก.  อักษรสูงนำอักษรต่ำเดี่ยว  จะออกเสียงพยางค์ต้นเป็น  สระอะ  ครึ่งเสียง  ออกเสียงพยางค์หลังตามที่ประสมอยู่  ออกเสียงวรรณยุกต์ผันตามตัวหน้า  เช่น  ขนม  ขนง  เขนย  ขนำ  สมอง  สมาน  สนอง  สยาย  ขยับ  ขยัน  ฝรั่ง   ถลอก  เถลิง  ผวา  ผยอง  ถนน  สนน  สนิท       

        *  ยกเว้น  ขมา  ขโมย  ขมำ  สมา  สมาคม   สมิทธิ  สโมสร  สลัม ไม่ออกเสียงตามตัวนำ

 

                     ข.  อักษรกลางนำอักษรต่ำเดี่ยว  ออกเสียงเช่นเดียวกับข้อ    เช่น  ตนุ  โตนด  จมูก  ตลาด  ตลก  ตลอด  จรวด  ปรอท  

                     ค.  อักษรสูงนำอักษรต่ำคู่ หรือ อักษรสูงนำอักษรกลาง  ออกเสียงตามข้อ    แต่ไม่ต้องผันวรรณยุกต์ตามอักษรนำ  เช่น  ไผท  ผดุง  เผด็จ  ผกา  เถกิง  ผกา  เผอิญ   เผอิญ  เผชิญ

 

ข้อสังเกต

๑.            ๑ เสียง มีหลายรูป ได้แก่

 

เสียง /ค/ แทน ข ฃ ค ฅ ฆ

เสียง /ช/ แทน ช ฉ

เสียง /ซ/ แทน ซ ส ศ ษ

เสียง /ด/ แทน ด ฎ

เสียง /ต/ แทน ต ฏ

เสียง /ท/ แทน ท ธ

เสียง /น/ แทน น ณ

เสียง /พ/ แทน พ ภ

เสียง /ฟ/ แทน ฝ ฟ

เสียง /ย/ แทน ย ญ

เสียง /ฮ/ แทน ห ฮ

         

         .  เสียง/ฤ/ ออกเสียง/ร/ ผสม สระ อึ

         .   ฑ ออกเสียงได้ ๒ เสียง คือ /ด/ /ท/

 

เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์   (ตัวสะกด)

            ภาษาไทยมีตัวสะกด ๙ มาตรา คือ

 

 แม่กก           เช่น.................................................................................................   

แม่กด            เช่น.................................................................................................   

 แม่กบ           เช่น.................................................................................................   

 แม่กม           เช่น.................................................................................................   

 แม่กน           เช่น.................................................................................................   

แม่เกย           เช่น.................................................................................................   

 แม่เกอว        เช่น.................................................................................................   

 แม่ ก. กา (ไม่มีตัวสะกด)     เช่น.................................................................................................   

 

 

เมื่อเขียนเสียงแทนแม่ตัวสะกดแต่ละมาตรา   ได้ดังนี้

              กก = /ก/                     กม = /ม/                        เกย = /ย/                      กบ = /บ/

              กด = /ด/                     กน = /น/                        กง = /ง/                        เกอว = /ว/

 ข้อสังเกต   อำ ไอ ใอ  เอา มีเสียงตัวสะกดด้วย 

 

 

 

ลักษณะที่ควรสังเกตอีกอย่างคือ รูปพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง  เช่น

 

๑.  พยัญชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต (     )กำกับ  เช่น  สงฆ์    วิทย์

๒.    หรือ    ซึ่งนำหน้าพยัญชนะสะกดในบางคำ  เช่น    สามา    พร

๓.  พยัญชนะซึ่งตามหลังพยัญชนะสะกดในบางคำ  เช่น  พุท   สุภัท  จัก

๔.    ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอักษรควบไม่แท้   เช่น  ริ   โท

๕.    หรือ     ซึ่งนำอักษรต่ำเดี่ยว   เช่น   ลาย      ยาก

๖.  คำบางคำมีเสียงพยัญชนะ  แต่ไม่ปรากฏรูปพยัญชนะ  เช่น  ดำ  มีเสียง    สะกด  แต่ไม่ปรากฏรูป

 

******************************

โพสต์โดยสมาชิกหมายเลข 8773 วันที่ 10 ต.ค. 2552


คู่มือครูสอนสาระการเรียนรู้ภาษาไทย(ชุดที่2)

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

ระวัง..อย่าเหยียบเป็ด

ระวัง..อย่าเหยียบเป็ด


เปิดอ่าน 6,438 ครั้ง
      มาแล้ว! ! !   ฝนดาวตกในปี 2552

มาแล้ว! ! ! ฝนดาวตกในปี 2552


เปิดอ่าน 6,449 ครั้ง
เพื่อนแท้(หรือแค่มันโง่)

เพื่อนแท้(หรือแค่มันโง่)


เปิดอ่าน 6,444 ครั้ง
Vocabulary     A

Vocabulary A


เปิดอ่าน 6,431 ครั้ง
สามีภรรยายุคใหม่!!!

สามีภรรยายุคใหม่!!!


เปิดอ่าน 6,427 ครั้ง
คำกล่าว จะเขียนอย่างไร ?

คำกล่าว จะเขียนอย่างไร ?


เปิดอ่าน 6,781 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

คู่แข่งขัน..... คือครูคนสำคัญ

คู่แข่งขัน..... คือครูคนสำคัญ

เปิดอ่าน 6,432 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
อยู่คนเดียวได้ไหม ถ้าไม่มีแฟน?
อยู่คนเดียวได้ไหม ถ้าไม่มีแฟน?
เปิดอ่าน 6,425 ☕ คลิกอ่านเลย

ข้อคิดดี ๆ
ข้อคิดดี ๆ
เปิดอ่าน 6,431 ☕ คลิกอ่านเลย

รับสมัครครูอัตราจ้าง
รับสมัครครูอัตราจ้าง
เปิดอ่าน 6,492 ☕ คลิกอ่านเลย

นักเรียนอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษไม่ถูกต้อง จะแก้ปัญหาอย่างไร (ขั้นตอนที่ 31)
นักเรียนอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษไม่ถูกต้อง จะแก้ปัญหาอย่างไร (ขั้นตอนที่ 31)
เปิดอ่าน 6,431 ☕ คลิกอ่านเลย

 ซื้อบ้าน-ที่ดิน ....ควรสูงกว่าถนน
ซื้อบ้าน-ที่ดิน ....ควรสูงกว่าถนน
เปิดอ่าน 6,468 ☕ คลิกอ่านเลย

อาวุธขั้นสุดยอด...ปราบหนูขั้นเด็ดขาด
อาวุธขั้นสุดยอด...ปราบหนูขั้นเด็ดขาด
เปิดอ่าน 6,433 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

จารีตประเพณีของชาวสยามตามชั้นบุคคลในฐานะต่าง ๆ
จารีตประเพณีของชาวสยามตามชั้นบุคคลในฐานะต่าง ๆ
เปิดอ่าน 14,560 ครั้ง

พิกเซล (Pixel)
พิกเซล (Pixel)
เปิดอ่าน 3,408 ครั้ง

ประตูบ้านให้ลาภ
ประตูบ้านให้ลาภ
เปิดอ่าน 19,815 ครั้ง

ประวัติกระดาษห่อลูกอมฮาร์ตบีท
ประวัติกระดาษห่อลูกอมฮาร์ตบีท
เปิดอ่าน 20,524 ครั้ง

ประวัติศาสตร์จังหวัดสกลนคร
ประวัติศาสตร์จังหวัดสกลนคร
เปิดอ่าน 22,239 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ