ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมเรื่องราวจากสมาชิก  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

เกมปริศนาซูโดกุ


เรื่องราวจากสมาชิก เปิดอ่าน : 6,409 ครั้ง
เกมปริศนาซูโดกุ

Advertisement

 :  การพัฒนาทักษะและกระบวนการ  ทางคณิตศาสตร์
เอนก  รัศมี
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ 
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต
 
ความเป็นมาของปริศนาซูโดกุ
      ปริศนานี้ได้ถูกตีพิมพ์ในอเมริกาชื่อ “Number  Place”  ลงในนิตยสาร U.S.puzzle ในปี 2522 ก่อนที่จะตีพิมพ์ในชื่อ “ซูโดกุ” ในญี่ปุ่นเมื่อปี 2529
      “ซูโดกุ”  เป็นชื่อภาษาญี่ปุ่นที่ประกอบด้วยอักษรที่เรียกว่าคันจิ 2 ตัว คันจิตัวแรก ออกเสียงว่า “ซู” หมายถึง จำนวนหรือการนับ  คันจิตัวที่สอง ออกเสียงว่า “โดกุ” หมายถึง มีเพียงแบบเดียว หรือ สิ่งเดียว เมื่อรวมแล้วจึงหมายถึง  จำนวนที่มีเพียงแบบเดียว คำว่า “ซูโดกุ”  นี้เป็นเครื่องหมายการค้าของสำนักพิมพ์ที่เกี่ยวกับปริศนาชวนคิด ชื่อ Nikoli Co.Ltd  ประเทศญี่ปุ่น และมีบางสำนักพิมพ์ในญี่ปุ่นที่ตีพิมพ์ปริศนาประเภทนี้แต่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น เช่น Number  Place
      ปริศนานี้เป็นที่นิยมอย่างแพ่หลายในอังกฤษ  หลังจากการตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ “The Time”  เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2004  ส่งผลให้หนังสือพิมพ์หลายๆ ฉบับในอังกฤษและอเมริกาเหนือปัจจุบันนี้มีเนื้อที่ให้ “ซูโดกุ” ในหน้าปริศนา เพื่อเพิ่มยอดขายแก่หนังสือนั้นๆ ในเมืองไทยมีวารสารที่ตีพิมพ์ปริศนานี้ใช้ชื่อ “ปริศนาจำนวน” 
มุ่งเกริ่นก่อน
      หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช  2551 ได้กำหนดกรอบสาระและมาตรฐานการเรียนรู้หลักที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนทุกคนในด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
      ในการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ดังกล่าว อาจใช้เกม “ซูโดกุ” ซึ่งเป็นปริศนาเกี่ยวกับการจัดวางตัวเลขลงในช่องว่างให้ครบบนตารางที่กำหนด โดยที่ตารางนั้นๆ จะกำหนดตัวเลขไว้ให้แล้วบางส่วน  กติกา ที่ใช้ในการลงตัวเลขในตารางที่ว่างนั้นมีเพียงประการเดียวคือ ตัวเลขในแถวเดียวกัน หลักเดียวกัน หรือจัตุรัสย่อยเดียวกัน จะต้องไม่ซ้ำกัน
      ซูโดกุ  แบบดั้งเดิมนั้นใช้ตัวเลข 1 – 9 เล่นบนตารางขนาด 9 ´ 9 ที่แบ่งออกเป็นจัตุรัสย่อย 3 ´ 3 จำนวน 9 รูปด้วยเส้นหนา ปัจจุบันนี้อาจพบตารางรูปแบบอื่น เช่น ตารางขนาด 16 ´ 16 ที่แบ่งออกเป็นจัตุรัส 4 ´ 4 จำนวน 16 รูปด้วยเส้นหนา  ถึงแม้ว่าการเล่นเกมนี้จะใช้ตัวเลขหลายๆ ตัว แต่ก็มิได้ใช้การคิดคำนวณใดๆ เลย ตัวเลขที่ใช้ทั้งหมดนั้นเป็นแค่เพียงสัญลักษณ์เท่านั้น ซึ่งสัญลักษณ์นี้อาจเปลี่ยนแทนได้ด้วยตัวอักษร หรือสี หรือรูปเรขาคณิตต่างๆ ก็ได้ ดังตัวอย่างซูโดกุที่ต้องใช้ตัวเลข 1 – 9 วางให้เต็มตาราง 9 ´ 9
ขั้นตอนการเล่น
      เกม “ซูโดกุ” ช่วยพัฒนาการให้เหตุผล และสื่อสารทางคณิตศาสตร์ และเมื่อรู้จักเกมซูโดกุและกติกาง่ายๆ ของซูโดกุแล้ว จะเห็นว่าในการลงตัวเลขใดตัวเลขหนึ่งในตารางจะต้องวิเคราะห์ก่อนว่า สอดคล้องกับกติกาที่ว่าจะต้องไม่มีตัวเลขใดซ้ำกันในแถวเดียวกัน หลักเดียวกัน และในจัตุรัส 3 ´ 3 เดียวกัน การคิดและลงตัวเลขนี้ใช้การให้เหตุผล และการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ ดังตัวอย่างแนวคิดการวางตัวเลขต่อไปนี้
 
      ขั้นตอนที่  1 โดยนำตัวอย่างที่ 1 จะต้องเติมตัวเลขให้เต็มในซูโดกุต่อไปนี้ 
 
 
1
6
 
 
 
9
 
 
 
4
 
 
 
 
 
 
 
2
 
3
9
 
6
 
 
4
4
8
 
 
 
5
2
 
 
 
 
7
2
 
9
1
 
5
 
 
5
8
 
 
 
4
7
6
 
 
1
 
7
4
 
2
 
 
 
 
 
 
 
5
 
 
 
4
 
 
 
3
7
 
 
 ในการเล่นเราจะเริ่มลงตัวเลขใดก่อนก็ได้ขึ้นอยู่กับการสังเกตของผู้เล่น  เช่น ภาพข้างล่างนี้เป็นจัตุรัส  3 ´ 3 แถวกลาง ของซูโดกุที่กำหนดให้ 
 
4
8
 
 
 
5
2
 
 
 
 
7
2
 
9
1
 
5
 
 
5
8
 
 
 
4
7
      จะเห็นว่าจัตุรัส  3 ´ 3 รูปซ้ายมือมี 4 อยู่ในแถวบน จัตุรัส 3 ´ 3 รูปขวามือมี 4 อยู่ในแถวที่สาม จากกติกาที่ว่า แต่ละแถวจะมีตัวเลขเดียวกันได้เพียงตัวเดียว ดังนั้น ตัวเลข 4 จึงไม่สามารถลงได้อีกในช่องว่างอื่นของจัตุรัสซ้ายมือและจัตุรัสขวามือ ทั้งยังไม่สามารถลงในแถวที่หนึ่งและแถวที่สามตลอดแถวอีกด้วย นอกจากนี้จากกติกายังได้ว่า ตัวเลขทุกตัวจาก 1 – 9 จะต้องลงในแต่ละจัตุรัส 3´3 ดังนั้นเราจึงต้องหาช่องที่ลงตัวเลข 4 ที่ใดที่หนึ่งในจัตุรัสกลาง ซึ่งมีที่เดียวที่จะวางได้ คือช่องที่ แรเงาไว้ 
      ขั้นตอนที่  2 โดยนำตัวอย่างที่ 1 หาข้อขัดแย้ง
      อาจจะยากในการเริ่มต้นคิดลงตัวเลขใดตัวเลขหนึ่ง หากมองไม่เห็นวิธีอื่นแล้วให้ลองใช้วิธีการพิสูจน์โดยหาข้อขัดแย้งไปทีละข้อ ดังตัวอย่างนี้ เมื่อต้องการลงตัวเลขในช่องที่แรเงา เริ่มโดยหาเหตุผลว่าตัวเลขใดไม่สามารถลงในช่องนี้ได้ จะเห็นว่า
1, 2, 4, 5 และ 7 ลงไว้แล้วในจัตุรัส 3´3 เดียวกัน จึงเป็นตัวเลขที่ใช้ไม่ได้ 3 และ 9 ลงไม่ได้ เพราะมีแล้วในหลักที่ 7  8 ก็ลงไม่ได้ เพราะมีแล้วในแถวที่ 6  
ดังนั้นมีตัวเลขตัวเดียวที่จะลงในช่องนี้ได้คือ
 

โพสต์โดยสมาชิกหมายเลข 7169 วันที่ 9 ต.ค. 2552


เกมปริศนาซูโดกุ

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

อิสสา คือริษยา

อิสสา คือริษยา


เปิดอ่าน 6,407 ครั้ง
^o^ดอกไม้ประจำชาติต่างๆ^o^

^o^ดอกไม้ประจำชาติต่างๆ^o^


เปิดอ่าน 6,595 ครั้ง
รูปภาพศิลปะบนกระจก

รูปภาพศิลปะบนกระจก


เปิดอ่าน 6,396 ครั้ง
^๐^ประโยชน์ของสตอ^๐^

^๐^ประโยชน์ของสตอ^๐^


เปิดอ่าน 6,403 ครั้ง
ไม้เด็ด!!เคล็ดลับครูดี

ไม้เด็ด!!เคล็ดลับครูดี


เปิดอ่าน 6,387 ครั้ง
 
1
6
 
 
 
9
 
 
 
4
 
 
 
 
 
 
 
2
 
3
9
 
6
 
 
4
4
8
 
 
 
5
2
 
 
 
 
7
2
 
9
1
 
5
 
 
5
8

:: เรื่องปักหมุด ::

อยากผิวขาว..อันตราย!! นะ

อยากผิวขาว..อันตราย!! นะ

เปิดอ่าน 6,392 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
* ~ ใครบอกว่า..หนู..ไม่น่ารัก ~ *
* ~ ใครบอกว่า..หนู..ไม่น่ารัก ~ *
เปิดอ่าน 6,404 ☕ คลิกอ่านเลย

ฝากบทกวี "เรื่องของครู1"
ฝากบทกวี "เรื่องของครู1"
เปิดอ่าน 6,393 ☕ คลิกอ่านเลย

GAT และPAT
GAT และPAT
เปิดอ่าน 6,398 ☕ คลิกอ่านเลย

เรียนอังกฤษจากเรื่องขำขัน
เรียนอังกฤษจากเรื่องขำขัน
เปิดอ่าน 6,422 ☕ คลิกอ่านเลย

เคล็ดลับกับกระโปรงยาว
เคล็ดลับกับกระโปรงยาว
เปิดอ่าน 6,386 ☕ คลิกอ่านเลย

"รัก" มีแต่สิ่งดี ดี ให้กันและกัน...
"รัก" มีแต่สิ่งดี ดี ให้กันและกัน...
เปิดอ่าน 6,393 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

ฟังเอ็มพี 3 ดังสุดๆ วันละแค่ 1 ชม. อันตรายร้ายแรงถึงหูดับได้
ฟังเอ็มพี 3 ดังสุดๆ วันละแค่ 1 ชม. อันตรายร้ายแรงถึงหูดับได้
เปิดอ่าน 8,702 ครั้ง

เคยได้ยินหรือยัง!“หลักสูตรฐานสมรรถนะ”กุญแจยกระดับการศึกษาที่คนไทยต้องรู้จัก ให้ผู้เรียนเท่าทันความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
เคยได้ยินหรือยัง!“หลักสูตรฐานสมรรถนะ”กุญแจยกระดับการศึกษาที่คนไทยต้องรู้จัก ให้ผู้เรียนเท่าทันความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
เปิดอ่าน 6,556 ครั้ง

ดูกันหรือยัง "กังนัม สไตล์" Original
ดูกันหรือยัง "กังนัม สไตล์" Original
เปิดอ่าน 10,963 ครั้ง

สั่งจองพื้นที่บนดวงจันทร์ได้แล้ว
สั่งจองพื้นที่บนดวงจันทร์ได้แล้ว
เปิดอ่าน 27,313 ครั้ง

เตือนมีภาพ-คลิปโป๊เด็กต่ำกว่า 18 ปี ในมือถือ ระวังเจอโทษหนัก
เตือนมีภาพ-คลิปโป๊เด็กต่ำกว่า 18 ปี ในมือถือ ระวังเจอโทษหนัก
เปิดอ่าน 16,105 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ