ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมเรื่องราวจากสมาชิก  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

เปิดตัววิเคราะห์หลักสูตรฟิสิกส์


เรื่องราวจากสมาชิก เปิดอ่าน : 6,451 ครั้ง
เปิดตัววิเคราะห์หลักสูตรฟิสิกส์

Advertisement

 

การกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

ตารางวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พ.ศ. 2551   ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน    รหัสวิชา ว 31101  ภาคเรียนที่   1  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

มาตรฐาน ว 4.1   เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม  

1.  ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับ   การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และอธิบายการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

 

 

 

2.  ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับ   การเคลื่อนที่ของอนุภาคใน

-ในสนามโน้มถ่วงจะมีแรงกระทำต่อวัตถุ ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก เมื่อปล่อยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี  สนามโน้มถ่วงทำให้วัตถุต่างๆ ไม่หลุดจากโลก เช่น  การโคจรของดาวเทียมรอบโลก และอาจใช้แรงโน้มถ่วงไปใช้ประโยชน์เพื่อหาแนวดิ่งของช่างก่อสร้าง

-เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าอยู่ในสนามไฟฟ้า   จะมีแรงกระทำต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจ

-

-ในสนามโน้มถ่วงจะมีแรงกระทำต่อวัตถุ ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก เมื่อปล่อยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี  สนามโน้มถ่วงทำให้วัตถุต่างๆ ไม่หลุดจากโลก เช่น  การโคจรของดาวเทียมรอบโลก และอาจใช้แรงโน้มถ่วงไปใช้ประโยชน์เพื่อหาแนวดิ่งของช่างก่อสร้าง

-เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าอยู่ในสนามไฟฟ้า   จะมีแรงกระทำต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจ

 

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สนามไฟฟ้า  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

 

 

3.   ทดลองและอธิบายความ สัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนาม แม่เหล็ก และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

 

4.    วิเคราะห์และอธิบายแรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้าระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส

ทำให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามารถนำสมบัตินี้ไปประยุกต์สร้างเครื่องมือบางชนิด เช่น เครื่องกำจัดฝุ่น ออสซิลโลสโคป

-เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะมีแรงกระทำต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทำให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป  สามารถนำสมบัตินี้ไปประยุกต์สร้างหลอดภาพโทรทัศน์

-อนุภาคในนิวเคลียส เรียกว่า

นิวคลีออน  นิวคลีออน ประกอบด้วยโปรตอนและ

-

ทำให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามารถนำสมบัตินี้ไปประยุกต์สร้างเครื่องมือบางชนิด เช่น เครื่องกำจัดฝุ่น ออสซิลโลสโคป

-เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะมีแรงกระทำต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทำให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป  สามารถนำสมบัตินี้ไปประยุกต์สร้างหลอดภาพโทรทัศน์

-อนุภาคในนิวเคลียส เรียกว่า นิวคลีออน  นิวคลีออน ประกอบด้วยโปรตอนและ

 

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

 

 

 

 

 

 

มาตรฐาน ว 4.2                   เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์   สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

 

 

 

 

 

 

1.  อธิบายและทดลองความ สัมพันธ์ระหว่างการกระจัด  เวลา ความเร็ว   ความเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวตรง

2.  สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบ

ฮาร์มอนิกอย่างง่าย          

 

นิวตรอน นิวคลีออน ในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์    ซึ่งมีค่ามากกว่าแรงผลักทางไฟฟ้าระหว่าง นิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้

-การเคลื่อนที่แนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ในแนวใดแนวหนึ่ง เช่น แนวราบหรือแนวดิ่งที่มีการกระจัด ความเร็ว ความเร่ง อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยความเร่งของวัตถุหาได้จากความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา

-

นิวตรอน นิวคลีออน       ในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์    ซึ่งมีค่ามากกว่าแรงผลักทางไฟฟ้าระหว่าง นิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้

-การเคลื่อนที่แนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ในแนวใดแนวหนึ่ง เช่น แนวราบหรือแนวดิ่งที่มี

-การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยความเร่งของวัตถุหาได้จากความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา

 

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.  อภิปรายผลการสืบค้นและประโยชน์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย  

 

 

-การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นการเคลื่อนที่วิถีโค้งที่มีความเร็วในแนวราบคงตัวและความเร่งในแนวดิ่งคงตัว

-การเคลื่อนที่แบบวงกลมเป็นการเคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเส้นสัมผัสวงกลมและมีแรงในทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลาง

-การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก

อย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำทางเดิม เช่น การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย โดยที่มุมสูงสุดที่เบนจากแนวดิ่ง มีค่าคงตัวตลอด

 

-

-การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นการเคลื่อนที่วิถีโค้งที่มีความเร็วในแนวราบคงตัวและความเร่งในแนวดิ่งคงตัว

-การเคลื่อนที่แบบวงกลมเป็นการเคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเส้นสัมผัสวงกลมและมีแรงในทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลาง

-การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก

อย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำทางเดิม เช่น การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย โดยที่มุมสูงสุดที่เบนจากแนวดิ่ง มีค่าคงตัวตลอด

 

 

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มาตรฐาน ว 5.1    เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. ทดลองและอธิบายสมบัติ ของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง

-การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การเล่นเทนนิส บาสเกตบอล

-การเคลื่อนที่แบบวงกลมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การวิ่งทางโค้งของรถยนต์ให้ปลอดภัย

-การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างนาฬิกาแบบลูกตุ้ม

-คลื่นกลมีสมบัติ การสะท้อน การหักเห

  การแทรกสอด และการ

-

-การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การเล่นเทนนิส บาสเกตบอล

-การเคลื่อนที่แบบวงกลมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การวิ่งทางโค้งของรถยนต์ให้ปลอดภัย

-การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างนาฬิกาแบบลูกตุ้ม

-คลื่นกลมีสมบัติ การสะท้อน การหักเห

  การแทรกสอด และการ

 

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

ดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน  ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

 

 

 

 

 

 

อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น

 

 

 

 

2. อธิบายการเกิดคลื่นเสียงบีตส์ของเสียง     ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

เลี้ยวเบน

-อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่นมี ความสัมพันธ์กันดังนี้  

อัตราเร็ว =  ความถี่ ´ ความยาวคลื่น

-คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งกำเนิดเสียง

-บีตส์ของเสียงเกิดจากคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดสองแหล่งที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย มารวมกัน ทำให้ได้ยินเสียงดังค่อยเป็นจังหวะ

-ความเข้มเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วย

-

เลี้ยวเบน

-อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่นมี ความสัมพันธ์กันดังนี้  

อัตราเร็ว =  ความถี่ ´ ความยาวคลื่น

-คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งกำเนิดเสียง

-บีตส์ของเสียงเกิดจากคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดสองแหล่งที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย มารวมกัน ทำให้ได้ยินเสียงดังค่อยเป็นจังหวะ

-ความเข้มเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วย

 

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์ และการเสนอ    วิธีป้องกัน

 

 

 

 

พื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา

-ระดับความเข้มเสียงจะบอกความดังค่อยของเสียงที่ได้ยิน

-เครื่องดนตรีแต่ละชนิดที่ใช้ตัวโน้ตเดียวกันจะให้รูปคลื่นที่แตกต่างกัน เรียกว่ามีคุณภาพเสียงต่างกัน

-มลพิษทางเสียงมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์  ถ้าฟังเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงสูงกว่ามาตรฐานเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อการได้ยินและสภาพจิตใจได้การป้องกันโดยการหลีกเลี่ยงหรือใช้เครื่องครอบหูหรือลดการสั่นของ

-

พื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา

-ระดับความเข้มเสียงจะบอกความดังค่อยของเสียงที่ได้ยิน

-เครื่องดนตรีแต่ละชนิดที่ใช้ตัวโน้ตเดียวกันจะให้รูปคลื่นที่แตกต่างกัน เรียกว่ามีคุณภาพเสียงต่างกัน

-มลพิษทางเสียงมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์  ถ้าฟังเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงสูงกว่ามาตรฐานเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อการได้ยินและสภาพจิตใจได้การป้องกันโดยการหลีกเลี่ยงหรือใช้เครื่องครอบหูหรือลดการสั่นของ

 

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(เขต+สถานศึกษา)

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา

(แกนกลาง+เขต+สถานศึกษา)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

<

โพสต์โดยสมาชิกหมายเลข 7253 วันที่ 9 ต.ค. 2552


เปิดตัววิเคราะห์หลักสูตรฟิสิกส์

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

สวยๆสำหรับคุณ

สวยๆสำหรับคุณ


เปิดอ่าน 6,684 ครั้ง
ให้เปิดดู....ยามเหงา

ให้เปิดดู....ยามเหงา


เปิดอ่าน 6,423 ครั้ง
ประวัติดนตรีสากล

ประวัติดนตรีสากล


เปิดอ่าน 7,147 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

ด่วน...>>ก่อนหมดเขตสิ้นเดือนตค.52นี้ครับ""ชินภัทร" ยันไม่ขยายเวลาเงินกู้ ช.พ.ค.5 "

ด่วน...>>ก่อนหมดเขตสิ้นเดือนตค.52นี้ครับ""ชินภัทร" ยันไม่ขยายเวลาเงินกู้ ช.พ.ค.5 "

เปิดอ่าน 6,404 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
เปิดอ่าน 6,414 ☕ คลิกอ่านเลย

แก้ปัญหา..เด็กติดเกมแบบบูรณาการ
แก้ปัญหา..เด็กติดเกมแบบบูรณาการ
เปิดอ่าน 6,406 ☕ คลิกอ่านเลย

อาหารแสลง ....ที่ไม่ควรกินตอนเป็นโรค
อาหารแสลง ....ที่ไม่ควรกินตอนเป็นโรค
เปิดอ่าน 6,409 ☕ คลิกอ่านเลย

ภาพลวงตา...???
ภาพลวงตา...???
เปิดอ่าน 6,414 ☕ คลิกอ่านเลย

วิธีเลิกสูบบหรี่ด้วยตัวเอง
วิธีเลิกสูบบหรี่ด้วยตัวเอง
เปิดอ่าน 6,411 ☕ คลิกอ่านเลย

เคล็ดลับแม่บ้าน
เคล็ดลับแม่บ้าน
เปิดอ่าน 6,405 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

8 วิธี กินปลอดภัย ป้องกันอาหารติดคอ
8 วิธี กินปลอดภัย ป้องกันอาหารติดคอ
เปิดอ่าน 2,888 ครั้ง

กว่าจะมาเป็น นพวรรณ เลิศชีวกานต์
กว่าจะมาเป็น นพวรรณ เลิศชีวกานต์
เปิดอ่าน 15,340 ครั้ง

ที่แท้ ซีอิ๊ว ก็มีต้นกำเนิดจากน้ำปลาบ้านเรานี่เอง
ที่แท้ ซีอิ๊ว ก็มีต้นกำเนิดจากน้ำปลาบ้านเรานี่เอง
เปิดอ่าน 14,726 ครั้ง

ร้อนตับแตก มีที่มาอย่างไร
ร้อนตับแตก มีที่มาอย่างไร
เปิดอ่าน 8,131 ครั้ง

ฟุตซอล(Futsal): วิธีการคาดโทษและไล่ออก
ฟุตซอล(Futsal): วิธีการคาดโทษและไล่ออก
เปิดอ่าน 24,569 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ