การสังเกตคำไทยและคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ภาษาไทย ภาษาเขมร
1. สะกดตรงตามมาตรา 1. มักสะกดด้วย ญ ส ร จ ล
2. มักเป็นคำพยางค์เดียว 2. มักเป็นคำแผลง อักษรนำ
3. มีลักษณนาม 3. เดิมถ้ามีคำว่าประนำหน้า จะแผลงเป็น
4. ไม่มีการันต์ บรร
5. ไม่นิยมคำควบกล้ำ(ยกเว้นศัพท์พื้นฐาน) 4. นิยมคำควบกล้ำ
6. มีคำพ้องรูปพ้องเสียง 5. มักเป็นคำราชาศัพท์
7. มีการใช้วรรณยุกต์
***คำเติมหน้าในภาษาเขมร-ข ถ ตำ กำ บัง ทำ ประ จำ กระ บัน สำ บำ ผ บรร***
|
ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต
1. มีสระ 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ 1. มีสระ 14 ตัว เพิ่ม ไ เ-า ฤ ฤา ฦ ฦา
2. มีพยัญชนะ 33 ตัว 2. มีพยัญชนะ 35 ตัว เพิ่ม ศ ษ
3. นิยม ฬ 3. ไม่นิยม ฬ จะใช้ ฑ แทน
4.ไม่นิยม รร 4. นิยม รร
5. ส นำหน้าวรรค อื่น 5. ส นำหน้า วรรค ตะ
6. ไม่นิยมคำควบกล้ำ(ในคำคู่)-นิยมอักษรคู่กัน 6. นิยมคำควบกล้ำ
7. มีหลักตัวสะกดตัวตาม 7. ไม่มีหลักตายตัวแน่นอน
(112-334-512345)
ตัวอย่างคำบาลีที่เจอบ่อยๆ ตัวอย่างคำสันสกฤตที่เจอบ่อยๆ
ขัตติยะ กษัตริย์
สิกขา ศึกษา
วิชชา วิทยา
มัจฉา มัตสยา
ภิกขุ ภิกษุ
สามี สวามี
ภริยา ภรรยา
บุปผา บุษบา
สิริ ศรี
อัจฉริยะ อัศจรรย์
ปกติ ปรกติ
รังสี รัศมี
ปัญญา ปรัชญา
ปฐม ประถม
ตารางพยัญชนะวรรค + เทคนิคพิเศษ
อักษรกลาง
|
อักษรสูง
|
|
อักษรต่ำ
|
|
|
|
อักษรต่ำคู่
|
อักษรต่ำคู่
|
อักษรต่ำเดี่ยว
|
ก
|
ข
|
ค
|
ฆ
|
ง
|
จ
|
ฉ
|
ช(ซ)
|
ฌ
|
ญ
|
(ฎ)ฏ
|
ฐ
|
ฑ
|
ฒ
|
ณ
|
(ด)ต
|
ถ
|
ท
|
ธ
|
น
|
(บ)ป
|
ผ(ฝ)
|
พ(ฟ)
|
ภ
|
ม
|
(อ)
|
ศษสห
|
(ฮ)
|
|
ยรลฬว
|
****** ----------------------------ถ้าแถวนี้เป็นตัวสะกด---------------------------คำนั้นจะเป็นคำตาย**** ** ถ้าแถวนี้สะกด
คำนั้นจะเป็นคำเป็น