ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ข่าวการศึกษา     ความรู้ทั่วไป     งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริการสังคมคณิตศาสตร์  ▶ ข่าว/บทความ ▶ หน้าแรก

ประวัติความเป็นมาของเครื่องหมายราก หรือกรณท์


คณิตศาสตร์ เปิดอ่าน : 38,766 ครั้ง
ประวัติความเป็นมาของเครื่องหมายราก  หรือกรณท์

Advertisement

ประวัติความเป็นมาของเครื่องหมายราก  หรือกรณท์
 

 

โดย ปรีชา เหล่าพันนา

 



                
  ในสมัยโบราณ การแต่งตำรายังไม่ได้คิดค้นสัญลักษญ์แทนเครื่องหมายรากหรือกรณฑ์ คงใช้คำเต็มว่า กรณฑ์ หรือ ราก   (Radix)    จนกระทั่งในยุคกลาง นักคณิตศาสตร์ชาวลาติน ชื่อ Leonardo Da Pisa ได้ใช้สัญลักษณ์ PX อันเป็นตัวย่อของคำว่า Radix มาใช้เป็นคนแรก
ในปี ค.ศ.1220 และถูกนำมาพิมพ์ลงในตำราต่าง ๆ เป็นเวลานานกว่าศตวรรตนอกจากนี้สัญลักษณ์ดังกล่าวยังใช้ในจุดประสงค์อื่น ๆ อีกด้วย เช่นใช้ แทนคำว่า respone , res , ratio , rex และที่คุ้นเคยกันมากคือ recipe ในใบสั่งยาของแพทย์ เป็นต้นในขณะเดียวกันนักเขียนตำราชาวอาหรับก็ใช้ สัญลักษณ์แทนเครื่องหมายรากหรือกรณฑ์ เช่นเดียวกัน โดยใช้สัญลักษณ์แต่ไม่มีอิทธิพลต่อนักแต่งตำราของยุโรปเท่าที่ควร สัญลักษณ์  ได้ปรากฎครั้งแรกในหนังสือ Coss ของ Rudoff (1525) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน แต่ไม่มีใครสนใจ เมื่อ Stifelได้แก้ไขใหม่ในปี ค.ศ.1553  โดยได้เปลี่ยนเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้

                   คนมักจะกล่าวกันเสมอๆ ว่า Rudoff ใช้สัญลักษณ์  เพราะมันคล้ายคลึงกับอักษร r เล็ก ตัวย่อของ radixแต่ไม่มีหลักฐานใดยืนยันเรื่องนี้โดยตรง สัญลักษณ์นี้อาจจะได้รับการคิดค้นขึ้นมาตามลำพังก็ได้ อย่างไรก็ตาม มีข้อเท็จจริงที่ว่า ในศตวรรษที 14 และต่อมาภายหลัง เราได้ค้นพบว่ามีหนังสือหลายเล่มหลายเรื่อง ที่ใช้รูปแบบสัญญลักษณ์แสดงความหมายของรากได้มีการพัฒนาขึ้นหลายครั้ง เช่น Viacq ได้ใช้

                  สำหรับรากที่สอง
                   สำหรับรากที่สาม
                 สำหรับรากที่สี่
                  นอกจากนี้ Rahn (ค.ศ. 1622-1676) ได้ใช้
                   สำหรับรากที่สอง  สำหรับรากที่สาม  สำหรับรากที่สี่
                 สำหรับรากที่หก  สำหรับรากที่แปด

                  นักเขียนตำราฝรั่งเศส อังกฤษ และอิตาเลียน แห่งศตวรรษที่ 16 ยอมรับสัญลักษณ์ของเยอรมันนี้อย่างช้า ๆ แท้ที่จริงนักเขียนเยอรมันเอง ก็ไม่ได้
ชอบสัญลักษณ์เช่นนี้กันหมดทุกคน สัญลักษณ์ i (มาจากLatus = ข้าง หมายถึงด้านของจัตุรัส) ได้ถูกใช้อยู่บ่อย ๆ ดังนั้นเราจึงพบว่า The Ramus - Schoner (ค.ศ. 1592) ได้ใช้สัญลักษณ์


                 14 สำหรับ 
                  lc5 สำหรับ 
                  l s q6 สำหรับ 
                  และ ll 6 สำหรับ  , 1 3 สำหรับ 

                 Cosselin ได้ใช้สัญลักษณะในหนังสือ De Arte Magna ( ค.ศ.1577) ดังนี้

                  L9 สำหรับ 
                  LC8 สำหรับ 
                  LL16 สำหรับ 
                  LV24 PL9 สำหรับ  ( V หมายถึงทั้งหมด P หมายถึงบวก)

                 ในศตวรรษที่ 17 เครื่องหมายรากที่ใช้กันอยู่ในทุกวันนี้ ก็ได้รับการยอมรับจากคนทั่วไป แต่ก็มีการขัดแย้งกันอย่างมากมาย เช่น Stevin ก็ยังคงใช้สัญลักษณ์
เดียวกับที่ Rudoff เคยใช้ คือ


                 สำหรับรากที่สอง 3 สำหรับรากที่สาม
                3 สำหรับรากที่สี่ของรากที่สาม 
                ) (2 สำหรับ .x2
               (2) สำหรับ .


                 Netton ได้ใช้สัญลักษณ์ ดังนี้
                 สำหรับ 
                สำหรับ 
 

                เมื่อก่อนจะสิ้นคริสตวรรษที่ 17 ในหนังสือ Dictioarie Mathematique ของ Ozanam ( ปารีส , 1691 ) ได้ใช้สัญลักษณ์

                C. aab สำหรับ 
               C. a3 +3abb สำหรับ 

     ในศตวรรษที่ 18 ทุกฝ่ายได้ยอมรับเครื่องหมาย  สำหรับรากที่สองและ  สำหรับรากที่สาม

 

ที่มา http://www.mc41.com/pop/root.htm


ประวัติความเป็นมาของเครื่องหมายราก หรือกรณท์ประวัติความเป็นมาของเครื่องหมายรากหรือกรณท์

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

ฟังก์ชันของ exponential

ฟังก์ชันของ exponential


เปิดอ่าน 41,494 ครั้ง
ประวัติเครื่องหมายหาร  (÷)

ประวัติเครื่องหมายหาร (÷)


เปิดอ่าน 235,750 ครั้ง
เรื่องของเลขศูนย์

เรื่องของเลขศูนย์


เปิดอ่าน 27,283 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

การบวกและการลบ

การบวกและการลบ

เปิดอ่าน 30,366 ☕ คลิกอ่านเลย

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡
การวัดความสูง
การวัดความสูง
เปิดอ่าน 32,685 ☕ คลิกอ่านเลย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับค่ารากของสมการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับค่ารากของสมการ
เปิดอ่าน 33,343 ☕ คลิกอ่านเลย

สรุปสูตร วงกลม
สรุปสูตร วงกลม
เปิดอ่าน 86,704 ☕ คลิกอ่านเลย

Fast Math Trick จินตคณิต สูตรคิดเร็ว การหาร
Fast Math Trick จินตคณิต สูตรคิดเร็ว การหาร
เปิดอ่าน 37,400 ☕ คลิกอ่านเลย

พิสูจน์กฎคณิตศาสตร์โดยใช้ภาพ
พิสูจน์กฎคณิตศาสตร์โดยใช้ภาพ
เปิดอ่าน 19,819 ☕ คลิกอ่านเลย

การพิจารณาค่าความจริง (Truth value)
การพิจารณาค่าความจริง (Truth value)
เปิดอ่าน 16,120 ☕ คลิกอ่านเลย

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

คำว่า "ตายน้ำตื้น" มันเป็นอย่างนี้นี่เอง ชมคลิป
คำว่า "ตายน้ำตื้น" มันเป็นอย่างนี้นี่เอง ชมคลิป
เปิดอ่าน 17,990 ครั้ง

ก้อนอะไรกลมๆ บนดาวอังคาร?
ก้อนอะไรกลมๆ บนดาวอังคาร?
เปิดอ่าน 23,905 ครั้ง

ปล่อยปลาได้บุญสะเดาะเคราะห์ เสริมดวง
ปล่อยปลาได้บุญสะเดาะเคราะห์ เสริมดวง
เปิดอ่าน 116,072 ครั้ง

สำรวจบ้าน-พิชิตโรค
สำรวจบ้าน-พิชิตโรค
เปิดอ่าน 8,830 ครั้ง

สื่อวีดิทัศน์การพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูงสำหรับนักเรียนชั้น ม.ต้น ผ่านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
สื่อวีดิทัศน์การพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูงสำหรับนักเรียนชั้น ม.ต้น ผ่านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
เปิดอ่าน 12,710 ครั้ง

เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
สนามเด็กเล่น

แหล่งรวมเกมส์ เกมส์ให้เล่นมากมาย ศูนย์รวมเกมส์สนุกๆ เกมส์ความรู้ เกมส์ลับสมอง เกมส์ประลองยุทธ แหล่งรวบรวมข้อมูล เกมส์ เกมส์ออนไลน์ เกมส์มันๆ เกมส์ตัดผม ไว้มากมายที่นี่ ให้เด็กๆได้เลือกเล่นมากมาย คลิกเลย

 
หมวดหมู่เนื้อหา
เนื้อหา แยกตามหมวดหมู่ สามารถเลืออ่านได้ตามหมวดหมู่ที่นี่


· Technology
· บทความเทคโนโลยีการศึกษา
· e-Learning
· Graphics & Multimedia
· OpenSource & Freeware
· ซอฟต์แวร์แนะนำ
· การถ่ายภาพ
· Hot Issue
· Research Library
· Questions in ETC
· แวดวงนักเทคโนฯ

· ความรู้ทั่วไป
· คณิตศาสตร์
· วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
· ภาษาต่างประเทศ
· ภาษาไทย
· สุขศึกษาและพลศึกษา
· สังคมศึกษา ศาสนาฯ
· ศิลปศึกษาและดนตรี
· การงานอาชีพ

· ข่าวการศึกษา
· ข่าวตามกระแสสังคม
· งาน/บริการสังคม
· คลิปวิดีโอยอดนิยม
· เกมส์
· เกมส์ฝึกสมอง

· ทฤษฎีทางการศึกษา
· บทความการศึกษา
· การวิจัยทางการศึกษา
· คุณครูควรรู้ไว้
· เตรียมประเมินวิทยฐานะ
· ผลงานวิชาการเล่มเต็ม
· เครื่องมือสำหรับครู

ครูบ้านนอกดอทคอม

เว็บไซต์เพื่อครู ข่าวการศึกษา ความรู้ การศึกษาไทย

      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ