Advertisement
เมืองไทยฟ้าไม่เป็นใจไปดู "สุริยุปราคาเต็มดวง" เมืองอื่นดีกว่า |
|
|
|
ภาพสุริยุปราคาเต็มดวงที่เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย (เอเอฟพี) |
|
|
น่าเสียดายแทนคนไทยในพื้นที่เมฆฝนปกคลุมจนพลาดชมปรากการณ์สุริยุปราคาบางส่วน ที่เป็นส่วนหนึ่งสุริยุปราคาเต็มดวงที่ยาวนานที่สุดในศตวรรษที่ 21 ทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTV-ผู้จัดการออนไลน์ จึงรวบรวมภาพสุริยุปราคาเต็มดวงจากส่วนอื่นๆ ของโลกมาฝาก
สำหรับปรากฏการณ์สุริยุปราคาซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 22 ก.ค.52 นี้ เป็นสุริยุปราคาที่อยู่ในชุดซารองที่ 136 ซึ่งเป็นชุดซารอสที่มีคราวยาวนานที่สุด โดยบริเวณที่เห็นการบดบังมากที่สุดอยู่กลางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ กินเวลา 6 นาที 39 วินาที
|
|
ภาพสุริยุปราคาเต็มดวงที่เกาะอิโวจิมา ทางตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่น บันทึกโดยหอดูดาวดาราศาสตร์แห่งญี่ปุ่น (National Astronomical Observatory of Japan (NAOJ) – ภาพเอเอฟพี |
|
|
|
|
ลำดับภาพการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงในเมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 22 ก.ค.52 ซึ่งคราสค่อยๆ บังจนเป็นคราสเต็มดวงในภาพสุดท้าย (เอเอฟพี) |
|
|
|
|
นักท่องเที่ยวชมปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวงที่เกาะอิโวจิมาทางตอนใต้ของญี่ปุ่น ซึ่งมีการถ่ายทอดสัญญาณการเกิดปรากฏการณ์ไปลงบนจอขนาดใหญ่ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมอุบัติใหม่แห่งญี่ปุ่น (National Museum, of Emerging Science and Innovation) ในกรุงโตเกียว (เอเอฟพี) |
|
|
|
|
นักท่องเที่ยวชมปรากฏการณ์วงแหวนของสุริยุปราคาเต็มดวงที่เกาะอิโวจิมาทางตอนใต้ของญี่ปุ่น ซึ่งมีการถ่ายทอดสัญญาณการเกิดปรากฏการณ์ไปลงบนจอขนาดใหญ่ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมอุบัติใหม่แห่งญี่ปุ่น (National Museum, of Emerging Science and Innovation) ในกรุงโตเกียว (เอเอฟพี) |
|
|
|
|
ภาพปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวง ซึ่งคาดบังเกือบมิด ในวันที่ 22 ก.ค.52 ณ เมืองฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน (รอยเตอร์) |
|
|
|
|
ภาพปรากฏการณ์วงแหวน (The diamond ring effect) เกิดขึ้นหลังจากคราสบังเต็มดวง ซึ่งเห็นทางตอนเหนือของเกาะอิโวจิมา ประเทศญี่ปุ่น ในปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวง 22 ก.ค.52 (รอยเตอร์/สมาคมสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีญี่ปุ่น) |
|
|
|
|
ภาพปรากฏการณ์วงแหวน (The diamond ring effect) ก่อนคราสบังเต็มดวง เห็นได้ที่ตอนเหนือของเกาะอิโวจิมา ประเทศญี่ปุ่น ในปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวง 22 ก.ค.52 (รอยเตอร์/สมาคมสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีญี่ปุ่น) |
|
|
|
|
ภาพรวมแสดงลำดับเหตุการณ์เกิดสุริยุปราคาที่เมืองฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 22 ก.ค.52 โดยไล่จากซ้ายไปขวาและจากแถวบนลงล่าง จะเห็นปรากฏการณ์ตั้งแต่คราสเริ่มบังดวงอาทิตย์ จากนั้นค่อยๆ บังจนเต็มดวงในภาพแรกของแถวที่ 2 จากนั้นการบดบังค่อยๆ ลดลงจนสิ้นสุดการบดบังในภาพสุดท้าย (รอยเตอร์) |
|
|
|
|
แถมท้ายด้วย!! ภาพขณะคราสเริ่มบดบังดวงอาทิตย์ในปรากฏการณืสุริยุปราคาเต็มดวงวันที่ 22 ก.ค.52 ถูกซ้อนทับอีกครั้งด้วยภาพหอสูงของสุเหร่าใน เมืองอินชวน เขตปกครองตนเองชนชาติหุย หนิงเซี่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน (สำนักข่าวซินหัว/รอยเตอร์) |
|
|
|
|
วันที่ 22 ก.ค. 2552
Advertisement
เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,137 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,198 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 7,148 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,146 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,141 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,144 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,139 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,145 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,138 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,168 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,139 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 41,365 ครั้ง |
เปิดอ่าน 25,381 ครั้ง |
เปิดอ่าน 11,802 ครั้ง |
เปิดอ่าน 21,247 ครั้ง |
เปิดอ่าน 37,441 ครั้ง |
|
|