Advertisement
ในการเรียนเรื่องพลังงานความร้อน นักเรียนอาจเคยทดลอง เปรียบเทียบเกี่ยวกับการดูดกลืนและคายความร้อนของดินและน้ำ เพื่อนำไปใช้ในการอธิบายถึงการเกิดลมบก ลมทะเล สำหรับกิจกรรม ที่เสนอต่อไปนี้ จะช่วยให้นักเรียนได้ประสบการณ์เกี่ยวกับการดูดกลืน และคายความร้อนของของเหลวต่างชนิดกัน
|
1.น้ำมัน (ที่ใช้กับอาหาร) 2.น้ำโคลน 3.น้ำ 4.เทอร์มอมิเตอร์ 5.ถ้วยพลาสติก (อาจใช้ถ้วยที่ทำจากวัสดุ)ขนาดเท่ากัน 3 ใบ |
1.ใส่น้ำ น้ำมัน และโคลนลงในถ้วย แต่ละใบ ใบละเท่า ๆ กัน 2.วางถ้วยทั้งสามใบในข้อ 1ไว้ในที่ร่ม ประมาณ 30 นาที วัดอุณหภูมิ ของเหลวในถ้วยทั้งสามทุกๆ 10 นาที บันทึกผล 3.นำถ้วยทั้งสามไปวางไว้กลางแดด 30 นาที วัดอุณหภูมิทุก 10 นาที 4.นำถ้วยในข้อ 3 กลับเข้าในร่ม แล้ววางไว้ 30 นาที วัดอุณหภูมิทุกๆ 10 นาที บันทึกผล - เมื่ออยู่ในที่ร่ม อุณหภูมิของของเหลวในถ้วยแต่ละใบเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร เพราะเหตุใด - เมื่ออยู่กลางแดด อุณหภูมิของของเหลวในถ้วยแต่ละใบมีการเปลี่ยนแปลง อย่างไร - อุณหภูมิของของเหลวในถ้วยใดเปลี่ยนแปลงเร็วที่สุด - ของเหลวในถ้วยใดมีอุณหภูมิสูงสุด - เมื่อนำกลับเข้ามาในที่ร่ม อุณหภูมิของของเหลวในถ้วยใดเปลี่ยนแปลง เร็วที่สุดและอย่างไร - จะสรุปผลการทดลองนี้ว่าอย่างไร |
|
ของเหลวต่างชนิดกันจะดูดกลืนและคายความร้อนต่างกัน น้ำสามารถ ดูดกลืนความร้อนได้มากและคายความร้อนได้เร็ว ทำให้อุณหภูมิของน้ำไม่สูง มากนัก สิ่งมีชีวิตในน้ำจึงสามารถอาศัยอยู่ได้ สำหรับน้ำมันสามารถดูดกลืนความร้อนได้มากและมีอุณหภูมิสูง น้ำมัน จึงร้อนมากและจะค่อยๆคายความร้อนให้กับบริเวณรอบๆ ทำให้อากาศบริเวณ นั้นอุ่น เครื่องทำความร้อนหลายชนิดจะใช้น้ำมันบรรจุอยู่ภายใน |
วันที่ 21 ก.ค. 2552
Advertisement
เปิดอ่าน 7,147 ครั้ง เปิดอ่าน 7,137 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,166 ครั้ง เปิดอ่าน 7,157 ครั้ง เปิดอ่าน 7,144 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,146 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,141 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,132 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,143 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,143 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,142 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,143 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 12,052 ครั้ง |
เปิดอ่าน 36,593 ครั้ง |
เปิดอ่าน 31,070 ครั้ง |
เปิดอ่าน 9,881 ครั้ง |
เปิดอ่าน 15,190 ครั้ง |
|
|