มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาลัยศาสนาศาสตร์ยโสธร
ประมวลการสอนราววิชา : COURSE SYLLABUS
วิชาภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย (PALI and SANSKRIT in THAI)
รหัส ED ๑๐๔๔
สถานภาพรายวิชา : วิชาบังคับในหลักสูตรปริญญาตรี ชั้นปีที่ ๓ หลักสูตรเทียบโอน
มีค่า ๓ หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษาในชั้นเรียนตลอดภาคการศึกษา
๓ คาบต่อสัปดาห์ และศึกษาด้วยตนเอง ๖ คาบต่อสัปดาห์
เวลาเรียน : วันเสาร์ เวลา ๐๘:๐๐ – ๑๐:๓๐ น.
ผู้บรรยาย : นางสาวสมปอง จันทคง กศ.บ. (ภาษาไทย), ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา)
ตำแหน่งทางวิชาการ ครูชำนาญการพิเศษ สาขาภาษาไทย โรงเรียนยโสธรพิทยาสรรค์
โทร. ๐-๔๕๗๒-๐๑๕๒ มือถือ ๐๘-๕๔๙๒-๖๑๔๑
-----------------------------
๑. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเปรียบเทียบลักษณะภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาไทย ความแตกต่างของการใช้ภาษา คำบาลี สันสกฤต และไทย สาเหตุที่นำคำบาลีสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย วิธีการใช้คำบาลีสันสกฤตที่ถูกต้องในภาษาไทย
๒. วัตถุประสงค์การศึกษา
๒.๑ วิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาไทย
๒.๒ อธิบายความแตกต่างของการใช้ภาษา คำบาลี สันสกฤต และไทย
๒.๓ ชี้แจงสาเหตุที่นำคำบาลีสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย
๒.๔ อภิปรายวิธีการใช้คำบาลีสันสกฤตที่ถูกต้องในภาษาไทย
๓. วิธีการเรียนการสอนและกิจกรรม
๓.๑ วิธีสอนหลัก คือ การบรรยายของผู้สอน การศึกษาค้นคว้า ของผู้เรียน การอภิปรายของผู้เรียน การซักถาม การรายงานกลุ่ม การทำแบบฝึกหัด การทดสอบ และการสรุปผลการอภิปรายส่งในชั้นเรียน
๒
๓.๒ หนังสือและเอกสารประกอบการเรียนการสอน ผู้สอนได้จัดทำเอกสารประกอบคำบรรยาย โดยโปรแกรม POWER POINT นอกจากนี้ยังแนะนำให้นักศึกษา ศึกษาเพิ่มเติมได้จากทางอินเตอร์เน็ต และตำราภาษาไทย ของพระยาอุปกิตศิลปสาร และของกำชัย ทองหล่อ นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้อภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็นในระหว่างการเรียนการสอนอีกด้วย
๓.๓ ได้มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษาได้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้า ทำงานเป็นกลุ่ม จัดทำรายงานเชิงวิชาการเป็นรูปเล่ม และร่วมอภิปรายหน้าชั้นเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนในห้องเรียน และอาจารย์ผู้บรรยายทั้งในและนอกห้องเรียน
๓.๔ ร่วมแสดงทัศนะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ บูรณาการทางวิชาการอย่างกว้างขวาง จากเรื่องที่กลุ่มได้รับมอบหมาย เพื่อนำเสนอสาระที่หน้าชั้นเรียน
๔. การจัดหน่วยการเรียนการสอน
หน่วยที่ ๑ : ประวัติความเป็นมาของภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
หน่วยที่ ๒ : ลักษณะภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาไทย
หน่วยที่ ๓ : ข้อแตกต่างของการใช้ภาษา คำบาลี สันสกฤต และไทย
หน่วยที่ ๔ : สาเหตุที่นำคำบาลี ภาษาสันสกฤต มาใช้ในภาษาไทย
หน่วยที่ ๕ : อิทธิพลของภาษาบาลีสันสกฤตในการออกเสียง การสร้างคำ
การผูกประโยค สำนวนภาษา
หน่วยที่ ๖ : สรุปภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ในภาษาไทย
ตรวจงาน ส่งงาน ครั้งสุดท้าย
๕. รายละเอียดการศึกษาประกอบด้วยขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้
สัปดาห์ที่
|
สาระการเรียนรู้
|
กิจกรรม
|
สื่อการเรียนรู้
|
การวัดผล-ประเมินผล
|
๑
|
-ทดสอบก่อนเรียน
-ประวัติความเป็นมาของภาษาบาลี
-ประวัติความเป็นมาของภาษาสันสกฤต
|
-ทดสอบ
-บรรยาย
-ทำแบบฝึกหัด
|
-แบบทดสอบ
-เอกสารประกอบ การบรรยาย
-ค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
|
ทดสอบวัดความรู้พื้นฐาน
ตรวจแบบฝึกหัด
|
๓
รายละเอียดการศึกษาประกอบด้วยขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน (ต่อ)
สัปดาห์ที่
|
สาระการเรียนรู้
|
กิจกรรม
|
สื่อการเรียนรู้
|
การวัดผล-ประเมินผล
|
๒
|
สาเหตุที่ภาษาบาลีสันสกฤตปะปนในภาษาไทย
|
-บรรยาย
-นักศึกษาค้นคว้า
-รายงาน
-สรุปร่วมกัน
-ทำแบบฝึกหัด
|
-ค้นคว้าทาง Internet
- POWER POINT สาเหตุที่ภาษาบาลีสันสกฤตปะปนในภาษาไทย
-แบบฝึกหัด
|
ตรวจแบบฝึกหัด
ตรวจผลงาน
|
๓-๔
|
-ลักษณะของภาษาบาลี
ภาษาสันสกฤต
-ระบบเสียง
-ระบบคำ
-ระบบประโยค
|
-บรรยาย
-นักศึกษาค้นคว้า
-รายงาน
-สรุปร่วมกัน
-ทำแบบฝึกหัด
|
-ค้นคว้าทาง Internet
- POWER POINT ลักษณะของภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
-แบบฝึกหัด
|
ตรวจแบบฝึกหัด
ตรวจผลงาน
|
๕-๖
|
-ข้อแตกต่างระหว่าง
ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
-ข้อสังเกตคำบาลี
-ข้อสังเกตคำสันสกฤต
-ข้อสังเกตภาษาไทย
|
-บรรยาย
-นักศึกษาค้นคว้า
-รายงาน
-สรุปร่วมกัน
-ทำแบบฝึกหัด
|
-ค้นคว้าทาง Internet
- POWER POINT
ข้อแตกต่างระหว่างภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
-แบบฝึกหัด
|
ตรวจแบบฝึกหัด
ตรวจผลงาน
|
๔
รายละเอียดการศึกษาประกอบด้วยขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน (ต่อ)
สัปดาห์ที่
|
สาระการเรียนรู้
|
กิจกรรม
|
สื่อการเรียนรู้
|
การวัดผล-ประเมินผล
|
๗-๘
|
การอ่านออกเสียงคำบาลีสันสกฤต
|
-บรรยาย
-นักศึกษาค้นคว้า
-รายงาน
-สรุปร่วมกัน
-ทำแบบฝึกหัด
|
-ค้นคว้าทาง Internet
- POWER POINT การอ่านออกเสียงคำบาลีสันสกฤตในภาษาไทย
-แบบฝึกหัด
|
ตรวจแบบฝึกหัด
ตรวจผลงาน
|
๙
|
ทดสอบกลางภาค
ข้อสอบอัตนัยและปรนัย
|
๑๐-๑๑
|
คำบาลีสันสกฤตในวรรณคดีไทย
|
-บรรยาย
-นักศึกษาค้นคว้า
-รายงาน
-สรุปร่วมกัน
-ทำแบบฝึกหัด
|
-ค้นคว้าทาง Internet
- POWER POINT ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย
-แบบฝึกหัด
|
ตรวจแบบฝึกหัด
ตรวจผลงาน
|
๑๒-๑๓
|
Advertisement
เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,150 ครั้ง เปิดอ่าน 7,136 ครั้ง เปิดอ่าน 7,146 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 7,144 ครั้ง เปิดอ่าน 7,155 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,145 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง เปิดอ่าน 7,182 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,142 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,146 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,137 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,139 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,141 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,139 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,140 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 13,118 ครั้ง |
เปิดอ่าน 13,230 ครั้ง |
เปิดอ่าน 13,239 ครั้ง |
เปิดอ่าน 16,055 ครั้ง |
เปิดอ่าน 81,093 ครั้ง |
|
|