Advertisement
ภูมิปัญญาในการขุดพลอย ชาวจันทบุรี
|
|
|
|
)
ภูมิปัญญาในการขุดพลอยนั้น นอกจากอาศัยโชคช่วยแล้ว ยังมีเทคนิควิธีการเฉพาะตัวในการค้นหาด้วย เช่น สังเกตสีของดิน ดูจากขี้พลอยซึ่งก็คือแร่ "ไพร็อกซิน" ที่มีสีดำคล้ายนิลตะโก กระจายบนผิวดิน บางรายสังเกตจากเพื่อนพลอยจำพวกเพทายหรือพลอยน้ำค้าง นอกจากนั้นยังสังเกตได้จาก "ตัวตุ๊กตา" ที่เคยเชื่อกันว่าเป็นอาหารของพลอยซึ่งที่แท้ก็คือ "แร่ไมก้า" ชนิดหนึ่งนั่นเอง เมื่อพบร่องรอยเหล่านี้จึงเริ่มลงมือขุด โดยขุดหน้าดินทิ้งไปก่อน เพราะเป็นชั้นหินกรวดที่เรียกว่า "ชั้นกะสะ" ซึ่งก็คือหินบะซอลต์ หรือหิน "โคบก" ที่ชาวบ้านเรียกว่า "ลูกร่อน" จึงจะแน่ใจว่ามีพลอย เพราะพลอยจะอยู่ในชั้นกะสะนี้เอง ชั้นกะสะนี้จะมีความหนาตั้งแต่ 10-30 ซ.ม. บริเวณใดมีกะสะหนามาก บริเวณใดพลอยน้อย คนขุดมักจะเรียกบริเวณนั้นว่ามี "พลอยห่าง" เมื่อได้ดินในชั้นกะสะขึ้นมาจึงจะนำมาล้างและร่อนในตะแกรงเพื่อแยกพลอยออกจากดินและก้อนกรวด แหล่งที่มักพบคนร่อนพลอย คือ แถบห้วยสะพานหิน บ้านแสงส้ม บ้านบ่อเวฬุ
|
|
วันที่ 10 มิ.ย. 2552
Advertisement
เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,137 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,154 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 8,014 ครั้ง เปิดอ่าน 7,150 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 7,133 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง เปิดอ่าน 7,152 ครั้ง เปิดอ่าน 7,146 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,141 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,137 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,145 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,142 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,140 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,142 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,141 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 20,641 ครั้ง |
เปิดอ่าน 17,323 ครั้ง |
เปิดอ่าน 23,576 ครั้ง |
เปิดอ่าน 13,789 ครั้ง |
เปิดอ่าน 23,965 ครั้ง |
|
|