Advertisement
แสงสว่างจากหิ่งห้อย เกิดจากสารลูซิเฟอร์รินไปรวมกับออกซิเจนในอากาศ และมีสารอีกตัวหนึ่ง คือ สารลูซิเฟอเรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี ซึ่งสารทั้ง 2 ชนิดนี้ หิ่งห้อยจะเป็นตัวปล่อยออกมาโดยตรง แสงของหิ่งห้อยจะมีลักษณะวาบๆ ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะแสงสว่างจะขึ้นอยู่กับจังหวะการหายใจ จังหวะหายใจเข้าแสงจะติด และจังหวะหายใจออก แสงจะดับ แสงที่เกิดจากหิ่งห้อยจะมีปริมาณแสงสว่างที่น้อยมาก เพียง 1 ใน 1,000 จากเทียนไขธรรมดา เท่านั้นเอง โดยหิ่งห้อยทั้งตัวผู้และตัวเมีย จะใช้แสงของมันดึงดูดเพศตรงข้าม และบางครั้งก็ใช้ล่อเหยื่อ
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า แสงในตัวหิ่งห้อยมีได้ถึง 4 สี คือ สีเขียว สีเขียวแกมเหลือง เหลือง และสีส้ม ขึ้นอยู่กับสภาวะที่แตกต่างกัน
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
🖼สำหรับคุณครูไว้ใส่เกียรติบัตรสวยและถูก🖼 กรอบป้ายอะคริลิคตั้งโต๊ะ A4 แนวนอน 30x21.5 cm อะคริลิคใส 1 หน้า ทรง L (A4L1P) ในราคา ฿129 คลิกเลย👇👇https://s.shopee.co.th/1qLFIZVf4t?share_channel_code=6
Advertisement
เปิดอ่าน 13,576 ครั้ง เปิดอ่าน 21,905 ครั้ง เปิดอ่าน 29,485 ครั้ง เปิดอ่าน 18,504 ครั้ง เปิดอ่าน 12,877 ครั้ง เปิดอ่าน 5,906 ครั้ง เปิดอ่าน 16,596 ครั้ง เปิดอ่าน 12,741 ครั้ง เปิดอ่าน 28,608 ครั้ง เปิดอ่าน 11,581 ครั้ง เปิดอ่าน 11,122 ครั้ง เปิดอ่าน 9,414 ครั้ง เปิดอ่าน 37,859 ครั้ง เปิดอ่าน 22,564 ครั้ง เปิดอ่าน 10,782 ครั้ง เปิดอ่าน 22,615 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 16,102 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 20,487 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 9,947 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 12,607 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 21,985 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 16,604 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 3,770 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 1,047 ครั้ง |
เปิดอ่าน 10,054 ครั้ง |
เปิดอ่าน 14,204 ครั้ง |
เปิดอ่าน 22,521 ครั้ง |
เปิดอ่าน 26,962 ครั้ง |
|
|