Advertisement
❝ บทบาทและหน้าที่ของครูที่ปรึกษา
คุณสมบัติของครูที่ปรึกษา
1. มีความสามารถที่ข้าใจกับนักเรียน นักศึกษาและบุคคลต่างๆได้ดี โดยเฉพาะสามารถ
เข้าถึงนักเรียน นักศึกษาได้ดีด้วย ความสนิทสนมและมีความเป็นกันเองกับนักเรียน นักศึกษา
2. มีประสบการณ์ในการสอนมาพบสมควร และมีความรู้ในจิตวิทยาวัยรุ่นพอสมควร
3. เป็นผู้มีศีลธรรม มีความเห็นอกเห็นใจ มีเหตุผล มีความจริงใจต่อผู้อื่น
4. ควรเป็นผู้มีอารมณ์ดี และอารมณ์หนักแน่น
5. เป็นผู้เอาการเอางาน มีความมานะพยายาม และมีความตั้งใจทำงาน
6. มีศิลปะในการพูด
คุณลักษณะที่ดีของครูที่ปรึกษา
1. มีความเข้าใจคน
2. มีความเป็นมิตร
3. มีอารมณ์ขัน
4. มีความมั่นคง ไม่รวนเร
5. มีความอดทน
6. มีสีความตรงไปตรงมา ยุติธรรม
7. มีความจริงใจ
8. มีศิลปะในการติดต่อผู้อื่นและงานอย่างมีกลเม็ด
9. มีความเมตตากรุณา
10. มีไหวพริบเฉลียวฉลาด
งานในหน้าที่ของครูปรึกษา
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร เผนกการเรียน ระบบ การจัดการศึกษาและการ
ประเมินผลระดับต่างๆที่มีการจัดการเรียน การสอนในสถานศึกษา ตลอดจนระเบียบต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา เช่น การเก็บเงินบำรุงการศึกษา
2. อธิบายและชี้แจงให้นักเรียน นักศึกษาทราบและเข้ใจตั้งแต่ต้นปีว่า วิชาที่นักเรียน นักศึกษาจะต้องเรียนมีอะไรบ้าง แต่ละวิชาที่นักเรียน นักศึกษาจะต้องเรียนในปีการศึกษานั้นๆมีประโยชน์แก่นักเรียน นักศึกษาอย่างไร ทั้งในคณะที่เรียนและอนาคต
3.รวบรวมรายระเอียดเกี่ยวกับนักเรียน นักศึกษาในกลุ่มที่ตนรับผิดชอบไว้เพื่อประโยชน์ในการให้คำปรึกษา หรือช่วยให้นักเรียน นักศึกษา
- เกิดความรู้ศึกสบายใจ ไม่ว้าเหว่ มีผู้เป็นที่พึ่ง
- เข้าใจตนเองและเข้าใจปัญหาของตนดีขึ้น
- รู้จักคิดแก้ปัญหาของตนได้ มีความรอบครอบใคร่ครวญดีขึ้น
- มีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น
4. ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับแผนการเรียน และ ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการสอน หรือการเพิ่มรายวิชาเรียน
5. ให้คำแนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับปัญหาการเรียน แนะนำเกี่ยวกับการเรียน การสอน วิธีเรียนการเตรีมสอบ ฯลฯ
6. ดูแลให้คำแนะนำการประพฤติ
7. ให้คำแนะนำและดูแลเกี่ยวกับการมาเรียน การปรับตัว ตลอดจนปัญหาทุกข์สุขของนักเรียน นักศึกษาในชั้น
8. ติดตามดูแลการเรียนของนักเรียน นักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ
9. พบนักเรียน นักศึกษาในความดูแลอย่างสม่ำเสมอ จัดหาเวลาเพื่อให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเรียนและปัญหาส่วนตัวเป็นรายบุคคล
10. ติดต่อผู้ปกครองเพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน นักศึกษารวมทั้งรายงานความประพฤติผลการเรียน และปัญหาของนักเรียน นักศึกษาให้ผู้ปกครองทราบ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ไขเท่าที่จะกระทำได้
11. ประสานงานกับฝ่ายอื่นๆ เช่น ฝ่ายแนะแนวฯ ฝ่ายปกครอง และครูประจำรายวิชา ในกรณีที่นักเรียน นักศึกษามีปัญหา
หลักในการช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา
1. พยายามชี้ให้เห็นชัดว่าปัญหาของนักเรียนนักศึกษาคืออะไร
2. พยายามให้นักเรียน นักศึกษามองปัญหาอย่างรอบครอบ ไตร่ตรอง และพินิจวิเคราะห์
3. ช่วยให้นักเรียน นักศึกษามองปัญหาอย่างลึกซึ้ง สร้างทัศนะคติที่ดีเกี่ยวกับปัญหานั้นๆ
4. ครูต้องทำให้นักเรียน นักศึกษาตัดสินใจเองว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร จะสามารถวางแผนแก้ปัญหาอย่างไรและจะปรับตัวกับสถานการณ์ต่างๆเพื่อแก้ปัญหาอย่างไร
❞
วันที่ 2 มิ.ย. 2552
Advertisement
เปิดอ่าน 7,181 ครั้ง เปิดอ่าน 7,144 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,151 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,136 ครั้ง เปิดอ่าน 7,149 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,153 ครั้ง เปิดอ่าน 7,139 ครั้ง เปิดอ่าน 7,148 ครั้ง เปิดอ่าน 7,149 ครั้ง เปิดอ่าน 7,191 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,145 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,147 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,143 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,140 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,140 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,407 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,145 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 13,984 ครั้ง |
เปิดอ่าน 19,158 ครั้ง |
เปิดอ่าน 14,055 ครั้ง |
เปิดอ่าน 27,269 ครั้ง |
เปิดอ่าน 98,865 ครั้ง |
|
|