นี่คือวิธีดีๆ ที่จะทำให้คุณดูอ่อนเยาว์ไปได้อย่างยาวนาน ควรปรนนิบัติผิวให้ดี หน้าตาของผิวในตอนนี้ ส่วนใหญ่ก็มักเป็นผลมาจากการปรนนิบัติผิวของคุณนั่นแหละ และปัจจัยทางด้านพฤติกรรมก็คือสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดริ้วรอยก่อนวัย
ฉะนั้น ถ้าคุณไม่มีความเครียด ไม่ออกไปอยู่กลางแดด ไม่สูบบุหรี่ สัญญาณแห่งความร่วงโรยตามพันธุกรรมก็น่าจะปรากฎขึ้นเมื่อคุณอายุ 45 ปี ไปแล้ว
ควรลงมือซะตั้งแต่เดี๋ยวนี้ การป้องกันย่อมดีกว่าการรักษา ในการดูแลผิวก็เหมือนกัน ฉะนั้นการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารต่อต้านอนุมูลอิสระ อย่างเช่น ชาเขียว ไลโคปีน โค-เอ็นไซม์คิว 10 รวมทั้งวิตามินอี และซี ก็จะช่วยลดปริมาณความเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระได้
ใช้ครีมทาตา สัญญาณความร่วงโรยแห่งวัยมักจะเกิดขึ้นกับผิวรอบดวงตาเป็นอันดับแรก เพราะฉะนั้นก็อย่าละเลยในการดูแลผิวรอบดวงตา โดยใช้ครีมทาตาอย่างสม่ำเสมอ
หยุดบริโภคน้ำตาล ได้มีการพิสูจน์แล้วว่าน้ำตาลจะเข้าไปยึดโปรตีนในผิวไว้ด้วยกัน ส่งผลให้ผิวสูญเสียความยืดหยุ่น ฉะนั้น ก็ลดการบริโภคน้ำตาล รวมทั้งอาหารที่เป็นแป้งทั้งหลายด้วย เพราะแป้งเมื่อย่อยแล้วก็จะแปรสภาพเป็นน้ำตาลเช่นกัน
ควรเลือกอาหารที่ลดคลอเลสเตอรอลและเพิ่มใยอาหารนะคะ
เป็นมิลลิกรัมในอาหาร 100 กรัม
ไข่ขาว
0
ปลิงทะเล
0
นมสด
24
แมงกระพรุน
24
กระเพาะแกะ
41
เนื้อแพะ
60
ปลาดุก
60
เนื้อหมูล้วน
60
เนื้อกระต่าย
65
เนื้อแกะ
70
ปลาแซลมอน
86
ปลาลิ้นหมา
87
เนื้อไก่
60-90
เป็ด
70-90
กุนเชียง
100
แฮม
100
ซี่โครงหมู
105
เนื้อวัวล้วน
106
มันเปลว
90-107
น้ำมันหมู
110
นกพิราบ
110
เนยเหลว
110
หัวใจหมู
120
ปลาจะระเม็ด
120
มันแพะหรือแกะ
86-122
เนื้อวัวปนมัน
125
หมูปนมัน
126
เนื้อลูกวัว
140
เนยแข็ง
140
หัวใจวัว
145
กระเพาะวัว
150
ไส้หมู
150
กระเพาะหมู
150
กุ้ง
154
ปู
164
หอยกาบ
180
ปลาไหลทะเล
186
ปลาทูน่า
186
ไข่ปลา
300
ครีม
300
ปลาหมึกเล็ก
348
ตับวัว
376
ไตหมู
380
ไตวัว
400
ตับหมู
420
ไข่ไก่ทั้งฟอง
450
หอยนางรม
230-470
น้ำมันตับปลา
500
ตับแกะ
610
ตับไก่
750
ไข่แดง (เป็ด)
1120
ปลาหมึกใหญ่
1170
ไข่แดง (ไก่)
2000
สมองวัว
2300
สมองหมู
3100
เนื้อลูกวัว
3640
แคลเซียม
(มิลลิกรัม) ใยอาหาร
(กรัม)
ถั่วแดงหลวงดิบ
965
3.8
ถั่วเหลืองดิบ
245
4.7
เมล็ดบัวดิบ
385
2.1
ใบชะพลู
601
4.6
เห็ดลม
541
9.8
ผักแพว
473
1.1
ใบยอ
469
4.0
มะขาม (ฝักสด)
429
6.3
กุ้งแห้งตัวเล็ก
2305
-
กุ้งฝอย
1339
-
ปลาลิ้นหมาแห้ง
1290
-
ปูทะเล
205
-
หอยแมลงภู่
184
-
ปลาสีเสียดแห้ง
253
-
ปลาไส้ตีน
218
-
นมวัว 240 มิลลิลิตร
300
-
ในอาหาร 100 กรัม
ปริมาณคลอเลสเตอรอล || ปริมาณแคลเซียมและใยอาหาร || ชี่กง - การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ || กลับหน้าหลัก
ตารางชนิดของฮอร์โมนทดแทนรูปแบบต่างๆ
ฮอร์โมนชนิด
ประโยชน์
ข้อควรระวัง
เตอโรนร่วมด้วยเสมอ
<:: ฮอร์โมนทดแทนชนิดรับประทาน ::>
วิธีการให้ฮอร์โมนทดแทนแบบมีฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน ในหนึ่งรอบเดือนมีวิธีการให้อยู่ 3 วิธี การที่ท่านจะได้รับฮอร์โมนทดแทนรูปแบบใดนั้นขึ้นกับข้อพิจารณาของแพทย์ และความต้องการของท่าน
<:: แบบมีประจำเดือนออกเป็นรอบทุกเดือน ::>
วิธีการให้ยาแบบนี้จะได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนเป็นรอบๆ โดยทั่วไปจะได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 21 ของรอบรักษาและได้รับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในวันที่ 12 หรือ 13 นับจากวันที่เริ่มต้นรับประทานยา จากนั้นก็หยุดยาฮอร์โมนทั้งสองชนิดเมื่อได้รับยามาครบ 21 วัน หลังจากหยุดรับประทานยา จะมีเลือดออกจากทางช่องคลอดในระหว่างวันที่ 22 ถึงวันที่ 28 ของรอบรักษา โดยมากกว่าร้อยละ 90 ของสตรีที่ใช้วิธีการรักษาแบบนี้จะมีเลือดออกระหว่างรอบการรักษารอบแรกกับช่วงเริ่มต้นของรอบถัดไป
อย่างไรก็ตาม เมื่อสตรีอายุมากขึ้นและมีการใช้ยาฮอร์โมนทดแทนแบบนี้มาเป็นเวลานาน เลือดที่ออกจะมีปริมาณน้อยลงหรืออาจไม่มีเลือดออกในที่สุด
<:: แบบได้รับฮอร์โมน แอสโตรเจนต่อเนื่องและได้รับโปรเจสเตอโรนเป็นช่วงๆ ::>
วิธีการนี้จะได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนทุกวันตลอดการรักษา และได้รับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเป็นเวลา 12 ถึง 14 วันต่อเดือน วิธีการนี้จะทำให้สตรีมากกว่าร้อยละ 90 มีเลือดออกจากช่องคลอดเป็นรอบทุกเดือน
<:: แบบได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนร่วมกันทุกวัน ::>
วิธีการนี้จะได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนควบคู่กันทุกวัน การได้รับยาวิธีนี้จะทำให้สตรีนั้นไม่มีเลือดออกทางช่องคลอดเมื่อใช้ยาต่อเนื่องกัน 2 - 3 เดือนขึ้นไป ซึ่งทำให้สตรีนิยมที่จะได้รับยาในรูปแบบนี้ เนื่องจากสะดวกสบายกว่าการที่จะต้องมีเลือดออกทุกรอบเดือน