Advertisement
ในชีวิตประจำวัน คนเรามักหลีกหนีความเซ็ง ไปไม่พ้น ความเซ็ง เกิดขึ้นง่ายพ่อ ๆ กับการเป็นหวัด คัดจมูก ในฤดูฝน คนที่เซ็งไม่ใช่ คนเป็นโรคจิต การบำบัดรักษาจากจิตแพทย์ จึงไม่จำเป็น แต่เราจะปล่อยให้เซ็งอยู่นาน ๆ ก็ไม่ได้ เพราะความเซ็งมีส่วนลดทอนความสุข ของชีวิต และมักจะทำลายบรรยากาศที่แสน จะโรแมนติก ของบางคน ทำอย่างไรความเซ็ง จึงจะถูกลบหายไปจากหัวใจ ? นี่เป็นปัญหาที่นักปรัชญา ร่วมสมัยควรขบคิด.
ปรัชญาความเซ็ง
|
|
|
คำว่า "เซ็ง" แม้จะเป็นศัพท์ที่เริ่มใช้ในวงการภาษาแสลง แต่ก็ติดริมฝีกปากของคนไทยได้นาน เพราะสะท้อนถึงความรู้สึกชนิดหนึ่งได้เหมาะสมกระทัดรัด ความรู้สึกชนิดนั้นคือ "เซ็ง" ที่ใครได้ยินก็เข้าใจซึ้ง โดยไม่ต้องอธบายขยายความ เพราะคนเราต่างคุ้น กับความเซ็งของตัวเองอยู่แล้ว ใครก็ตามที่ความเซ็งเข้าจับความรู้สึกใจของเขาจะเริ่มมึนซึม ความกระฉับกระเฉงมีชีวิติชีวาจางหายไป ความแจ่มใสเปลี่ยนเป็นซึมเซา เช่นเดียวกับเงาดำปรากฏ เวลาดวงจันทร์เจ้ากลีบเมฆ จากนั้นอารมณ์ชักหงุดหงิด ส่งผลให้ใครทำอะไรก็กลายเป็นสิ่งไม่สบอารมณ์ รอยยิ้มหวานดูเป็นรอยยิ้มเยาะ และเสียงสดใสฟังเป็นเสียงกวนประสาท เหล่านี้เป็นลักษณะอาหารทั่วไปของความเซ็ง |
วันที่ 22 พ.ค. 2552
Advertisement
เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,143 ครั้ง เปิดอ่าน 7,140 ครั้ง เปิดอ่าน 7,148 ครั้ง เปิดอ่าน 7,138 ครั้ง เปิดอ่าน 7,146 ครั้ง เปิดอ่าน 7,141 ครั้ง เปิดอ่าน 7,142 ครั้ง เปิดอ่าน 7,151 ครั้ง เปิดอ่าน 7,177 ครั้ง เปิดอ่าน 7,144 ครั้ง เปิดอ่าน 7,149 ครั้ง เปิดอ่าน 7,152 ครั้ง เปิดอ่าน 7,144 ครั้ง เปิดอ่าน 7,136 ครั้ง เปิดอ่าน 7,222 ครั้ง
|
เปิดอ่าน 7,180 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,147 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,144 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,143 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,137 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,144 ☕ คลิกอ่านเลย |
เปิดอ่าน 7,145 ☕ คลิกอ่านเลย |
|
≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡
เปิดอ่าน 27,892 ครั้ง |
เปิดอ่าน 17,672 ครั้ง |
เปิดอ่าน 3,963 ครั้ง |
เปิดอ่าน 30,140 ครั้ง |
เปิดอ่าน 29,195 ครั้ง |
|
|