ชื่องานวิจัย การพัฒนานักเรียนสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
ชื่อผู้วิจัย นางมานิดา จันทรา
กิจกรรม กิจกรรมสร้างสรรค์ ระดับชั้น อนุบาล 2/1
สภาพปัญหา นักเรียนในชั้นเรียนระดับชั้นอนุบาล 2/1 มีนักเรียนทั้งหมด 16 คน มีนักเรียนสมาธิสั้น 2 คน
1. ด.ช.วรุฒม์ คำดี อายุ 5 ปี - เดือน
2. ด.ช.กฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ อายุ 4 ปี 10 เดือน
ความสำคัญและที่มา
นักเรียนวัย 4 – 5 ปี ต้องมีการพัฒนาการทางด้านอารมณ์ – จิตใจสังคม และสติปัญญา จากการเลี้ยงดูที่ส่งเสริมถึงพัฒนาการตลอดจนการเรียนรู้ที่เหมาะสมจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับพ่อแม่ เด็กกับครู เด็กกับครูพี่เลี่ยง เพื่อพัฒนาตนเองตามลำดับของคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างสมดุลย์ และเต็มศักยภาพ (จากหลักสูตรการศึกษาประถมวัย) เนื่องจาก ด.ช.วรุฒม์ คำดี และ ด.ช.กฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ มีพัฒนาการที่ล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัยในด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และร่างกาย ไม่เป็นไปตามศักยภาพของนักเรียน
เนื่องจากการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม และการทดสอบประเมินผลพัฒนาการในภาคเรียนที่ 2 ด.ช.วรุฒม์ คำดี และ ด.ช.กฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ นักเรียนมีพัฒนาการไม่เหมาะสมกับวัย ครูจึงสนใจที่จะทำวิจัย เพื่อพัฒนาการให้มีการพัฒนาที่ดีขึ้น โดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ซึ่งมี การวาดภาพตามจินตนาการ การระบายสีภาพ การฉีกตัดปะภาพ และปั้นดินน้ำมัน เพื่อพัฒนาการให้นักเรียนมีศักยภาพที่ดีขึ้น
จุดประสงค์
1. เพื่อพัฒนาความสามารถของ ด.ช.วรุฒม์ คำดี และ ด.ช.กฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ ที่มีสมาธิสั้นให้มีการพัฒนาได้เหมาะสมกับวัย
2. เพื่อพัฒนานวัตกรรมในการฝึกสมาธิให้กับนักเรียนที่มีสมาธิสั้นให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น
1. กิจกรรมสร้างสรรค์ในด้านวาดภาพตามจินตนาการและระบายสีภาพ
2. ฉีกตัด - ปะและปั้นดินน้ำมัน
ตัวแปรตาม
การพัฒนาสมาธิของผู้เรียน
กรอบแนวคิดในการวิจัย
วาดภาพจินตนาการระบายสี
กิจกรรมสร้างสรรค์ สมาธิของผู้เรียน
ฉีกตัด – ปะและปั้นดินน้ำมัน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผลจากการวิจัยครั้งนี้จะเป็นแนวทางสำหรับครูที่จะจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ในวัย 4 – 5 ปีให้ได้ผลตามจุดประสงค์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียน และนำผลมาใช้ในการปรับปรุง หรือพัฒนาการเรียน การสอนให้นักเรียนเกิดการพัฒนา และเกิดประสิทธิภาพสำหรับนักเรียนปฐมวัย
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ด.ช.วรุฒม์ คำดี อายุ 5 ปี 0 เดือน และ ด.ช.กฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ อายุ 4 ปี 10 เดือน อยู่ในระดับชั้นอนุบาล 2/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567 ในโรงเรียนบ้านโนนสังข์
วิธีดำเนินการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ด.ช.วรุฒม์ คำดี อายุ 5 ปี 0 เดือน และ ด.ช.กฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ อายุ 4 ปี 10 เดือน อยู่ในระดับชั้นอนุบาล 2/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567ในโรงเรียนบ้านโนนสังข์ อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์
โดยมีวิธีดำเนินงานด้วยการวิจัยดังนี้
ที่ วัน/เดือน/ปี กิจกรรม หมายเหตุ
1
2
3 4/พ.ย./2567
11/พ.ย./2567
18/พ.ย./2567
25/พ.ย./2567
2/ธ.ค./2567
9/ธ.ค./2567
16ธ.ค./2567
23/ธ.ค./2567
6/ม.ค./2568
13/ม.ค./2568
20/ม.ค./2568
27/ม.ค./2568
วาดภาพตามจินตนาการ
ระบายสีภาพ
ฉีกตัด – ปะภาพ
ปั้นดินน้ำมัน
วาดภาพตามจินตนาการ
ระบายสีภาพ
ฉีกตัด – ปะภาพ
ปั้นดินน้ำมัน
วาดภาพตามจินตนาการ
ระบายสีภาพ
ฉีกตัด – ปะภาพ
ปั้นดินน้ำมัน
ปฏิบัติตามกิจกรรมทุกวันพุธของสัปดาห์ วันที่ปฏิบัติกิจกรรมตรงกับวันหยุดจะเลื่อนปฏิบัติในวันอังคารของสัปดาห์
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการทำวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัย ได้ทำกิจกรรมดังนี้
1. การจัดกิจกรรม
2. การบันทึกข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
จากแบบบันทึกการพัฒนาสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนภายหลังจากการทำกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแล้ว ผู้เรียนมีระดับคะแนะสูงขึ้นตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานขั้นตอนตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ทำให้ ด.ช.วรุฒม์ คำดี และ ด.ช.กฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ มีพัฒนาการที่ดีขึ้น
ภาคผนวก
แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
ครั้งที่ 1 เด็กชายวรุฒน์ คำดี
โรงเรียนบ้านโนนสังข์
ลำดับที่ รายการ ระดับคะแนน หมายเหตุ
2 1 0
1 วาดภาพตามจินตนาการ / 0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย
1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น
2 หมายถึงมีสมาธิดี
2 ระบายสีภาพ /
3 ฉีกตัด – ปะภาพ /
4 ปั้นดินน้ำมัน /
รวม - 3 1
ค่าเฉลี่ย - 0.75 0.25
ค่าเฉลี่ยร้อยละ - 75 25
แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
ครั้งที่ 2 เด็กชายวรุฒน์ คำดี
โรงเรียนบ้านโนนสังข์
ลำดับที่ รายการ ระดับคะแนน หมายเหตุ
2 1 0
1 วาดภาพตามจินตนาการ / 0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย
1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น
2 หมายถึงมีสมาธิดี
2 ระบายสีภาพ /
3 ฉีกตัด – ปะภาพ /
4 ปั้นดินน้ำมัน /
รวม - 4 -
ค่าเฉลี่ย - 1 -
ค่าเฉลี่ยร้อยละ - 100 -
แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
ครั้งที่ 3 เด็กชายวรุฒน์ คำดี
โรงเรียนบ้านโนนสังข์
ลำดับที่ รายการ ระดับคะแนน หมายเหตุ
2 1 0
1 วาดภาพตามจินตนาการ / 0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย
1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น
2 หมายถึงมีสมาธิดี
2 ระบายสีภาพ /
3 ฉีกตัด – ปะภาพ /
4 ปั้นดินน้ำมัน /
รวม 2 2 -
ค่าเฉลี่ย 0.50 0.50 -
ค่าเฉลี่ยร้อยละ 50 50 -
สรุปผลว่า จากการสังเกตการพัฒนาการสมาธิสั้นของผู้เรียนในแต่ละครั้งของ ด.ช.วรุฒม์ คำดี
ในระดับชั้นอนุบาล 2/1 พบว่า
ครั้งที่ 1 - ได้รับคะแนนในกิจกรรมสร้างสรรค์ได้ค่าเฉลี่ย 0.25 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 25
- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการกิจกรรมระบายสีและกิจกรรมสร้าง
สรรค์ ได้ค่าเฉลี่ย 0.75 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 75
ครั้งที่ 2 - ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ กิจกรรมระบายสีภาพ กิจกรรมฉีก
ปะภาพ และกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 4 คิดเป็น ร้อยละ 100
ครั้งที่ 3 - ได้รับคะแนนในกิจกรรมฉีก – ปะภาพ และกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 0.50 คิด
เป็น ร้อยละ 50
- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ และกิจกรรมระบายสีภาพ ได้
ค่าเฉลี่ย 0.50 คิดเป็นร้อยละ 50
แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
ครั้งที่ 1 เด็กชายกฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์
โรงเรียนบ้านโนนสังข์
ลำดับที่ รายการ ระดับคะแนน หมายเหตุ
2 1 0
1 วาดภาพตามจินตนาการ / 0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย
1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น
2 หมายถึงมีสมาธิดี
2 ระบายสีภาพ /
3 ฉีกตัด – ปะภาพ /
4 ปั้นดินน้ำมัน /
รวม - 2 2
ค่าเฉลี่ย - 0.5 0.5
ค่าเฉลี่ยร้อยละ - 50 50
แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
ครั้งที่ 2 เด็กชายกฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์
โรงเรียนบ้านโนนสังข์
ลำดับที่ รายการ ระดับคะแนน หมายเหตุ
2 1 0
1 วาดภาพตามจินตนาการ / 0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย
1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น
2 หมายถึงมีสมาธิดี
2 ระบายสีภาพ /
3 ฉีกตัด – ปะภาพ /
4 ปั้นดินน้ำมัน /
รวม - 3 1
ค่าเฉลี่ย - 0.75 0.25
ค่าเฉลี่ยร้อยละ - 75 25
แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
ครั้งที่ 3 เด็กชายกฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์
โรงเรียนบ้านโนนสังข์
ลำดับที่ รายการ ระดับคะแนน หมายเหตุ
2 1 0
1 วาดภาพตามจินตนาการ / 0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย
1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น
2 หมายถึงมีสมาธิดี
2 ระบายสีภาพ /
3 ฉีกตัด – ปะภาพ /
4 ปั้นดินน้ำมัน /
รวม 1 2 1
ค่าเฉลี่ย 0.25 0.50 0.25
ค่าเฉลี่ยร้อยละ 25 50 25
สรุปผลว่า จากการสังเกตการพัฒนาการสมาธิสั้นของผู้เรียนในแต่ละครั้งของ
เด็กชายกฤษณพงศ์ วงศ์รุจิโรจน์ ในระดับชั้นอนุบาล 1/4 พบว่า
ครั้งที่ 1 - ได้รับคะแนนในกิจกรรมฉีก – ปะภาพ และ ปั้นดินน้ำมันได้ค่าเฉลี่ย 0.5 คิดเป็น
ค่าเฉลี่ย ร้อยละ 50
- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ และ กิจกรรมระบายสี ได้
ค่าเฉลี่ย 0.5 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 50
ครั้งที่ 2 - ได้รับคะแนนในกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 0.25 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 25
ครั้งที่ 3 - ได้รับคะแนนในกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 0.25 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 25
- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ และกิจกรรมฉีก – ปะภาพ ได้
ค่าเฉลี่ย 0.50 คิดเป็นร้อยละ 50
- ได้รับคะแนนในกิจกรรม ระบายสี