แผนการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 3
สัปดาห์ที่ 17 หน่วย สัตว์น่ารัก
เรื่อง ศิลปะสร้างสรรค์จากดินน ้ามัน
สาระการเรียนรู้ ธรรมชาติรอบตัว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
กิจกรรมสร้างสรรค์ เวลา 35 นาที
ผู้จัดประสบการณ์: นางสาววรารัตน์ กล่อมเสียง สอนวันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2566
กิจกรรมสร้างสรรค์
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ 2 กลามเนื้อใหญและกลามเนื้อเล็กแข็งแรง ใชไดอยางคลองแคลว และประสานสัมพันธกัน
2.2 ใชมือ - ตาประสานสัมพันธกัน
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
4.1.1 สนใจ มีความสุข และ แสดงออกผานงานศิลปะ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
5.4 มีความรับผิดชอบ
5.4.1 ท้างานที่ไดรับมอบหมายจนส้าเร็จ
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
8.2.1 เล่นหรือท้างานร่วมกันเป็นกลุ่ม
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารให้เหมาะสมกับวัย
9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบสอดคล้องกับเรื่องที่ฟัง
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถปั้นดินน ้ามันตามแบบพยัญชนะและตัวเลขตามขั นตอนที่ถูกต้อง (K)
2. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานการปั้นดินน ้ามันตามจินตนาการ
3.เด็กร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพร้อมอธิบายสิ่งต่างๆอย่างมีเหตุผล (P)
4. เด็กสามารถท้างานที่ได้รับมอบหมายจนส้าเร็จ
5. เด็กสามารถท้างานร่วมกันเป็นกลุ่ม (A)
สาระการเรียนรู้
สาระส าคัญ
การปั้นดินน ้ามันสร้างสรรค์ตามแบบและจินตนาการ เป็นการฝึกทักษะในการบังคับการท้างานของกล้ามเนื อ
มือให้ประสานสัมพันธ์กันและส่งเสริมความคล่องแคล่วของมือ
สาระที่ควรเรียนรู้
สิ่งที่เด็ก ๆ ได้รับจาการเล่นปั้นดินน ้ามันครั งนี นอกจากความสนุก และการพัฒนากล้ามเนื อมือแล้ว เด็ก ๆ
ยังได้รู้จักสังเกตตัวพยัญชนะและตัวเลขที่เป็นแบบในการปั้น การกะระยะการวางจุดเริ่มต้น และการตัดเพื่อให้ดินที่
ปั้นเป็นตามรูปที่ก้าหนด ฝึกประสานสัมพันธ์มือกับตา ฝึกสมาธิ จดจ่อกับการปั้น รวมถึงการพูดคุยโต้ตอบ เกี่ยวกับ
สิ่งต่าง ๆ ที่ก้าลังปั้นได้ การท้างานร่วมกัน การแสดงความคิดเห็นร่วมกันอย่างมีเหตุมีผล
ประสบการณ์ส าคัญ
ด้านร่างกาย
การพัฒนากล้ามเนื อมือฝึกประสานสัมพันธ์มือกับตา
ด้านอารมณ์ จิตใจ
-การฟังเพลง การร้องเพลง
- การฝึกสมาธิ
ด้านสังคม
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
- การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- การเล่นและท้างานร่วมกับผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
- การฟังและปฏิบัติตามค้าแนะน้า
- การฟังเพลง ค้าคล้องจองหรือเรื่องราวต่างๆ
- การปั้นเพื่อให้ดินที่ปั้นเป็นตามรูปที่ก้าหนด
- การพูดการแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกและต้องการ
- การรับรู้ การแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ และชิ นงาน
ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม
ขั้นน า
1.เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง สัตว์น่ารัก
2.เด็กดูชาร์ทเพลงสัตว์น่ารักที่ครูเตรียมไว้มาชี และอ่านให้เด็กฟังโดยให้เด็กอ่านออกเสียงตามครู 1 รอบ
3.ครูสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้และกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจ โดยใช้ค้าถาม
- มีสัตว์อะไรบ้าง
- มีสัตว์ชนิดใดบ้าง เช่น สัตว์บก สัตว์น ้า สัตว์ปีก
- มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง
4.เด็กและครูร่วมกันร้องเพลงอีก 1 รอบพร้อมทั งปรบมือให้จังหวะ พร้อมท้าท่าประกอบเพลง
ขั้นสอน
1. ครูน้าบัตรภาพพยัญชนะ ตัวเลข ให้เด็กดูและสังเกตภาพที่ครูน้ามา โดยใช้ค้าถามกับเด็กดังนี
- ภาพที่ครูน้ามาคือพยัญชนะอะไรบ้าง
- ภาพที่ครูน้ามาคือตัวเลขอะไรบ้าง
- เราจะมีวิธีการเขียนอย่างไร
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการพยัญชนะและตัวเลข
3. ครูแนะน้ากิจกรรมที่และวัสดุอุปกรณ์ในการปั้นดินน ้ามัน เช่น ดินน ้ามัน เป็นก้อนและดินน ้ามันตัวสัตว์
2. เด็กและครูและสนทนาอภิปรายเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะ กลิ่น สี ผิวสัมผัสและดินน ้ามันที่เป็นก้อนและ
ดินน ้ามันที่ปั้นแล้ว และเพื่อให้เด็กได้รับแรงจูงใจในการเรียนรู้
3. ครูอธิบายพร้อมกับสาธิตขั นตอนการท้ากิจกรรม ปั้นตามแบบที่ครูก้าหนด การปั้นดินน ้ามันตามตัวเลข 1
10 และการปั้นพยัญชนะไทย เป็นต้น
4. แบ่งกลุ่มเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4- 5 คน
5. ให้ตัวแทนออกมารับอุปกรณ์งานกลุ่ม มี แบบปั้นดินน ้ามันพยัญชนะและตัวเลข ตะกร้าดินน ้ามัน แผ่น
รองปั้น
6. เด็กเริ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรม โดยมีครูคอยดูแลให้ค้าแนะน้าอย่างใกล้ชิด เด็กเกิดการพัฒนาทักษะ
เชี่ยวชาญจากการเรียนรู้ เกิดการเรียนรู้แบบน้าตนเอง
7. เด็กจัดเก็บอุปกรณ์งานกลุ่มน้าไปวางบนโต๊ะ ให้แต่ละกลุ่มน้าเสนอชิ นงานที่ท้า เด็กๆอธิบายขั นตอนการ
ท้าพยัญชนะ และขั นตอนการท้าตัวเลข
8. เด็กและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และช่วยกันอธิบายเสริมเพิ่มเติมความรู้ หากพบข้อผิดพลาดครู
แก้ไขให้ถูกต้อง เพื่อให้เด็กได้รับข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุงการเรียนรู้
ผลงานกลุ่ม 1
ผลงานกลุ่ม 2
ผลงานกลุ่ม 3
9. เด็กๆรับอุปกรณ์ส้าหรับสร้างสรรค์ชิ นงาน(งานเดี่ยว) กิจกรรมสร้างสรรค์การปั้นดินน ้ามันการปั้น
พยัญชนะ ตัวเลข และ การปั้นตามจินตนาการ โดยนั่งเป็นครึ่งวงกลม ท้างานร่วมกับเพื่อนๆเมื่อเสร็จแล้ว
น้าส่งครูพร้อมกับเล่าถึงผลงานและน้าผลงานไปวางให้เพื่อนได้ดู
ขั้นสรุป
1. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงการท้ากิจกรรมในวันนี ว่าการปั้นดินน ้ามันเราต้องท้าการนวด คลึง ดินน ้ามันให้
นิ่มก่อนแล้วท้าการปั้นตามแบบที่ก้าหนดสวยงาม โดยการวางดินน ้ามันตามลีลามือการเขียนพยัญชนะ และ
การเขียนตัวเลขที่ถูกต้อง พยัญชนะที่มีหัวต้องม้วนหัวไปตามทิศทางที่ถูกต้อง และการเขียนตัวเลขที่ถูกวิธีจะ
ท้าให้เด็กเขียนได้อย่างถูกต้อง และการปั้นดินน ้ามันตามจิตนาการจะได้ผลงานออกมาหลากหลายและมี
ความสวยงา
2. เด็กและครูร่วมกันสรุปได้ว่าจากการเล่นปั้นดินน ้ามันครั งนี นอกจากความสนุก และการพัฒนากล้ามเนื อ
มือแล้ว เด็ก ๆ ยังได้รู้จักสังเกตตัวพยัญชนะและตัวเลขที่เป็นแบบในการปั้น การกะระยะการวาง
จุดเริ่มต้น และการตัดเพื่อให้ดินที่ปั้นเป็นตามรูปที่ก้าหนด ฝึกประสานสัมพันธ์มือกับตา ฝึกสมาธิ รวมถึง
การพูดคุยโต้ตอบ เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่ก้าลังปั้นได้ การท้างานร่วมกัน การแสดงความคิดเห็นร่วมกันอย่างมี
เหตุมีผล
3.เด็กและครูอ่านพยัญชนะ ตัวเลข และเรียก ชื่อสัตว์ต่างๆจากผลงานของตนเอง ที่เรียนรู้ไปวันนี แล้ว
ร่วมกันร้องเพลง ร้องเพลง สัตว์น่ารัก อีกครั ง
การวัดและประเมินผล
1. สังเกตการปั้นดินน ้ามันตามแบบพยัญชนะและตัวเลขตามขั นตอนที่ถูกต้อง
2. สังเกตสร้างสรรค์ผลงานการปั้นดินน ้ามันตามจินตนาการ
3. สังเกตการณ์สนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพร้อมอธิบายสิ่งต่างๆอย่างมีเหตุผล
4. สังเกตการท้างานที่ได้รับมอบหมายจนส้าเร็จ
รายงานด้านที่ 2 ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (ตามตัวชี้วัด )
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้
หน่วย สัตว์น่ารัก เรื่อง ศิลปะสร้างสรรค์จากดินน้ำมัน
หน่วย สัตว์น่ารัก เรื่อง ศิลปะสร้างสรรค์จากดินน้ำมัน
ตัวชี้วัดที่ 1 ผลงานหรือผลการปฏิบัติเป็นผลที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ของครู
1.1) เป็นไปตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กําหนดไว้ในแผนจัดการเรียนรู้นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 จํานวน 11 คน
1. ด้านความรู้ (Knowledge )
1.1 1. เด็กสามารถปั้นดินน้ำมันตามแบบพยัญชนะและตัวเลขตามขั้นตอนที่ถูกต้อง โดยสังเกตจากการขณะที่เด็กได้ทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์จากดินน้ำมันตามขั้นตอน มีนักเรียนผ่านการประเมิน ระดับ ดีมาก จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 ในระดับ ดี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 นักเรียนทุกคนผ่านการประเมิน คิดเป็นร้อยละ 100 การทําใบงานกิจกรรมเดี่ยวของเด็กในห้องเรียน และการสัมภาษณ์เด็กในห้องเรียน มีนักเรียนผ่านการประเมินระดับ ดีมาก จํานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 ในระดับ ดี จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมิน
เด็กๆบอกได้ถึงทิศทางการวางเส้นดินน้ำมันตามพยัญชนะและตัวเลข
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process)
2.1 เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานการปั้นดินน้ำมันตามจินตนาการ โดยสังเกตจากการขณะที่เด็กทำกิจกรรมการปั้น และเล่าถึงผลงานของตนเอง มีนักเรียนผ่านการประเมิน ระดับดีมากจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 ในระดับ ดี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 นักเรียนทุกคนผ่านการประเมินคิดเป็นร้อยละ 100 เด็กรู้จัก นําเสนองานกลุ่มหน้าชั้นเรียน และการทําใบงานเดี่ยวของเด็ก มีนักเรียนผ่านการประเมินระดับ ดีมาก จํานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 ในระดับ ดี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 100
2.2 เด็กร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพร้อมอธิบายสิ่งต่างๆอย่างมีเหตุผล โดยสังเกตจากการขณะที่เด็กได้ทำกิจกรรมและมีการนำเสนอผลงานของตนเองและแบบกลุ่ม มีนักเรียนผ่านการประเมิน ระดับ ดีมากจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 ในระดับ ดี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 นักเรียนทุกคนผ่านการประเมินคิดเป็นร้อยละ 100 เด็กสามารถร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พร้อมอธิบายสิ่งต่างๆอย่างมีเหตุผลได้โดย เด็กออกมานําเสนอขั้นตอนวิธีการปั้นดินน้ำมัน โดยมีนักเรียนผ่านการประเมิน จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ100 นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมิน
การทำงานกลุ่มและงานเดี่ยวการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(Attitude )
3.1 เด็กสามารถทํางานที่ได้รับมอบหมายจนสําเร็จ โดยสังเกตจากการขณะที่เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยตนเองหรือมีครูชี้แนะจนการทำงานของเด็กนั้นสำเร็จ มีนักเรียนผ่านการประเมิน ระดับ ดีมาก จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 90.91 ในระดับ ดี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 นักเรียนทุกคนผ่านการประเมินคิดเป็นร้อยละ 100
เด็กๆมีความภาคภูมิใจในการได้ทำงานจนสำเร็จ
1.2) เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของผู้เรียน
เด็กทํางานด้วยความตั้งใจมีกระบวนการทํางานและความสําเร็จในการทําชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายได้ถูกต้องและทันเวลาที่กําหนดและมีบางคนที่ไม่สามารถทำทันเวลาต้องได้รับการชี้แนะจนเสร็จตามขั้นตอน การมีกิจกรรมการสอนที่หลากหลายเด็กทำตามทีละขั้นตอน เด็กกระตือรือร้นและพร้อมที่จะรับความรู้ใหม่ๆ จากการเรียนการสอน เช่น กิจกรรมฝึกปั้นดินน้ำมันอย่างอิสระ การออกมานําเสนอเป็นกลุ่มและรายบุคคล
1.3) สอดคล้องกับสภาพและบริบทของผู้เรียนและชั้นเรียน
ครูมีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยจัดการเรียนการสอนทั้งแบบรายบุคคลและแบบกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และร่วมมือกัน ช่วยกันคิดและร่วมมือกันในการนําเสนอ ซึ่งผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีความสุข เรียนรู้ที่จะรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และพร้อมที่จะออกมาแสดงความคิดเห็นหน้าชั้นเรียนส่งผลให้กิจกรรมการเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ และทําให้นักเรียนได้รับความรู้และประโยชน์จากการเรียนการสอนอย่างเต็มที่
1.4) เกิดจากตัวผู้เรียนรายบุคคลหรือกลุ่มผู้เรียน ไม่ใช่ผลงานหรือผลการปฏิบัติของครู ผลงานนักเรียนรายบุคคลและผลงานรายกลุ่มของนักเรียน
1.5) เหมาะสมคุ้มค่าและเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้
ผู้เรียนสามารถนําความรู้ และประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนรู้นำไปทำในใบงานและมานําเสนอเป็นรายบุคคลและสามารถแนะนำเพื่อนได้ในการทำงานปั้นแบบต่างๆ ประโยชน์จากการเรียนรู้สามารถนําไปปรับใช้ชีวิตประจําวันของนักเรียนได้ เช่น การอ่าน การเขียน การจดจำเพื่อเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป
ตัวชี้วัดที่ 2 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงการได้รับการพัฒนาทักษะพื้นฐาน (Basic Skills) ตามวัยและลักษณะของผู้เรียน
เด็กได้ฝึกทักษะการนําเสนอหน้าชั้นเรียน ผ่านกิจกรรมรายบุคคลและรายกลุ่ม ได้แก่ ศิลปะสร้างสรรค์จากดินน้ำมัน โดยการใช้ทักษะการพูด การปั้นดินน้ำมันแล้ววางดินน้ำมันไปในในทิศทางของการเขียนพยัญชนะหรือตัวเลข ทักษะการนําเสนอการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ในการเรียน ได้ออกแบบการวางแผนฝึกคิดตามจิตนาการซึ่งส่งผลให้นักเรียนเกิดความ คล่องแคล่วหรือความชํานาญ มีความถูกต้องในการคิดหรือการปฏิบัติในการทํากิจกรรมต่างๆ
ตัวชี้วัดที่ 3 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงความสามารถในการเรียนรู้(Cognitive Abilities) ตามวัยและลักษณะของผู้เรียน
ผลงานของเด็กสามารถเชื่อมโยงความรู้ในกิจกรรมต่างๆที่ได้ในชั้น โดยใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์
กระบวนการตัดสินใจ การหาความหมาย การคิดอย่างมีเหตุผลและคิดอย่างเป็นระบบ นําไปประยุกต์ใช้ในการทําใบงานการปั้นตามแบบตัวพยัญชนะและตัวเลข การปั้นตามจิตนาการ เพื่อให้เกิดความสนุกสนานและเกิดการจำเป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ด้านภาษา และการนําเสนอรายบุคคลได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัดที่ 4 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงการบูรณาการทักษะในการทํางาน (Cross functionalSkills ) ตามวัยและลักษณะของผู้เรียน
เด็กมีทักษะกระบวนการต่างๆในการวางแผน อย่างเป็นขั้นตอนในการทำงานศิลปะสร้างสรรค์ เลือกใช้ดินน้ำมันตามความต้องการ เช่น สีของดินน้ำมัน การปั้นตามขนาดที่ต้องการเพื่อที่จะนำลงไปในแบบพยัญชนะและตัวเลข การเลือกใช้ดินน้ำมันเพื่อปั้นตัวสัตว์ตามจินตนาการและบอกได้ว่าสัตว์แต่ละตัวต้องใช้สีอะไรในการปั้น สามารถกํากับตนเองและการนําเสนอความคิดหน้าชั้นเรียน สามารถใช้ทักษะทางสังคม เช่น การทํางาน ร่วมกับผู้อื่น การเจรจากับเพื่อนในกลุ่มหรือแม้กระทั่งสอนเพื่อนที่ยังไม่เข้าใจ อีกทั้งยังมีทักษะเฉพาะทาง เช่น การใช้มือ-ตาประสานสัมพันธ์กัน โดยช่วงอายุ 5 ปี ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสามารถใช้มือและสายตาได้อย่างประสานสัมพันธ์กัน และนักเรียนได้นําความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้มาปรับใช้แก้ปัญหาการเรียนรู้ในกิจกรรมต่างๆ