1. ที่มาและความสำคัญของนวัตกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้กำหนดคุณภาพของผู้เรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ไว้ว่าจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 รหัสวิชา อ 21102 มีทักษะกระบวนการ มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 รหัสวิชา อ 21102 มีความตระหนักในคุณค่าของรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 รหัสวิชา อ 21102 และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต พอล คอลลาร์ด (Paul Collard) ผู้ก่อตั้ง Creativity, Culture and Education (CCE) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่ดี ควรเริ่มจากการพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ ของเด็ก แต่การศึกษาไทยยังขาดการฝึกความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนทุกระดับ แม้ว่าเราจะพัฒนาเรื่องระบบการบริหาร คุณภาพวิชาการให้ดีขึ้นเท่าใด แต่ถ้าเด็กไม่ได้เรียนรู้ด้วยความสนุกและฝึกความคิดตัวเองให้กว้างไกลขึ้น แน่นอนว่าห้องเรียนนั้นคงขาดสีสัน เพชรเม็ดงามที่อยู่ในห้องเรียนนั้นก็อาจจะส่องประกายน้อยลงเรื่อย ๆ
2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนาตามวัตถุประสงค์ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562
1. เพื่อการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2. เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning) สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้กับผู้เรียนอย่างคงทนถาวร
3. เพื่อจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลของการพัฒนานวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้การจัดกระบวนการสอนของครูในศตวรรษที่ 21 เพื่อประโยชน์ต่อวงการศึกษาต่อไป
4. เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านความคิดสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ
3. ขั้นตอนการดําเนินงาน
3. ขอบเขตของการดำเนินงาน
3.1 เป้าหมายของการดำเนินงาน
1. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 75
2. เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning ) สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้กับผู้เรียนอย่างคงทนถาวร
3. เพื่อจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลของการพัฒนานวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้การจัดกระบวนการสอนของครูในศตวรรษที่ 21 เพื่อประโยชน์ต่อวงการศึกษา ระดับดีมาก
4. เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านความคิดสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพอยู่ในระดับดีมาก
3.2 ขอบเขตของเนื้อหา
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-based learning ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3.3 ขอบเขตของระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
4. ผลสำเร็จของการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรม
1. ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้อง รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 36 จำนวน 1 ห้อง คน ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน2 รหัสวิชา อ 21102 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(ActiveLearning)โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน(Creativity-based learning ) ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้อง เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนร้อยละ 87.17
2.ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1จำนวน1ห้องรวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด36คนที่เรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน2รหัสวิชาอ21102มีความรู้ทักษะคุณลักษณะประจำวิชาคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตรสูงขึ้น
3. ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1จำนวน1ห้องรวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด36คน ที่เรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน2รหัสวิชาอ21102 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-based learning ) เป็นการเรียนรู้ในแบบกระบวนทัศน์ใหม่ เป็นการจัดการศึกษายุคฐานแห่งเทคโนโลยี หรือTechnology Based Paradigm ให้แก่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
4.ได้แนวทางในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน(Creativity-based learning) ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ตลอดมีแรงบันดาลใจมีความคิดสร้างสรรค์เกิดทักษะชีวิตทักษะกระบวนการคิดและทักษะด้านไอทีอยู่บนพื้นฐานแห่งการสร้างสรรค์ การคิดแบบมีวิจารณญาณ การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในการทำงาน
5. ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จ
1. สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น Inspiration
2. เปิดโอกาสให้ค้นหา รวบรวมข้อมูล แยกแยะและนำมาสร้างเป็น ความรู ้ Self-study
4. ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสหาทางแก้ปัญหา ด้วยตนเอง individual problem solving
5. ใช้ เกมส์ให้มีส่วนในการเรียนรู้ในห้องเรียน game-based learning.
6. ความเป็นประโยชน์คุ้มค่าของผลงาน/นวัตกรรม
ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1. ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1มีการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนเรื่องการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning)
2. ผู้เรียนมีความสนใจและมีความสุขในการเรียนมากขึ้น ได้รับประสบการณ์ในการเรียนรู้ การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนเรื่องการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active Learning)โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning )
3. ได้แนวทางในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีค้นคว้าหาข้อมูลสู่ความเป็นนวัตกรรม