บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื ้นฐานในการพัฒนารูปแบบกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์
เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที่
5 โรงเรียนบ้านโคกเมา 2) ออกแบบและพัฒนารูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ SOCIAL MODEL
บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิง
สร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5 โรงเรียนบ้านโคกเมา
3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดล
และผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม
สำหรับนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5 โรงเรียนบ้านโคกเมา 4) ศึกษาความพึงใจของนักเรียนที ่มีต่อ
รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู ้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปาโมเดลและผังกราฟิก
รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับ
นักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5 โรงเรียนบ้านโคกเมา เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and
Development) ดำเนินการเป็น 4 ขั ้นตอน ขั ้นตอนที ่ 1 การวิจัย (Research : R1) การวิเคราะห์
ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development : D1) การออกแบบและพัฒนา ขั้นตอนที่ 3
การวิจัย (Research : R2) การทดลองใช้รูปแบบ ขั ้นตอนที ่ 4 การพัฒนา (Development : D2)
เป็นการประเมินผล กลุ ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5/1 โรงเรียนบ้านโคกเมา
อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2566 จำนวน 35 คน ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้เกณฑ์
ห้องเรียนที ่นักเรียนที ่ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนต่ำ เครื ่องมือที ่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย
คือ 1) การสัมภาษณ์ครูผู ้สอนกลุ ่มสาระการเรียนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 2) แบบวิเคราะห์เอกสารข้อมูลพื ้นฐานในการพัฒนารูปแบบการสอน 3)
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน
ชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5 ที ่มีต่อการเรียนรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู ้ SOCIAL MODEL
บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิง
สร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 5) แบบสอบถามความพึง
พอใจของครูผู้สอนกลุ ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ต่อรูปแบบกระบวนการ
จัดการเรียนรู ้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปาโมเดลและผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์
เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที่
5 วิเคราะห์โดยใช้ค่าเฉลี ่ย ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ทดสอบสมมติฐาน เพื ่อเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างก่อนและหลังการใช้
รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู ้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและผังกราฟิก
รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและ
ผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม
สำหรับนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5 มี ชื ่อว่า SOCIAL เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ตามขั ้นตอน 6 ขั ้นตอน คือ 1) S : Scrutiny ; การตรวจสอบข้อเท็จจริง 2) O : Opportunity ;
โอกาส 3) C : Connection ; การเชื ่อมโยง 4) I : Interaction ; ปฏิสัมพันธ์ 5) A : Advance ;
การพัฒนาไปข้างหน้า 6) L : Leader ; ผู ้นำ และบูรณาการด้วยรูปแบบการสอน CIPPA MODEL
และผังกราฟิก
2. ประสิทธิภาพของรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู ้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับ
ซิปปา โมเดลและผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิด
เชิงนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5 ที ่พัฒนาขึ ้น ผลประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ
85.29/86.56
3. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที ่ 5 หลังเรียนจากการใช้รูปแบบ
กระบวนการจัดการเรียนรู ้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและผังกราฟิก รายวิชา
เศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้
SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและผังกราฟิก รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนา
ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจต่อ
การจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก (𝑥 = 4.27 , SD.= 0.29 )
5. ความพึงพอใจของครูผู้สอนกลุ ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที ่มี
ต่อรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ SOCIAL MODEL บูรณาการร่วมกับซิปปา โมเดลและผังกราฟิก
รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื ่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงนวัตกรรม สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( 𝑥 = 4.53 , SD.= 0.62 )