บทคัดย่อ
การวิจัยครั ้งนี ้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี ้ 1) เพื ่อศึกษาความต้องการและ
แนวทางการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านทักษะวิชาชีพตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน
ร่วมกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบบทีมบูรณาการ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ที ่มุ่งเน้นความ
เป็นเลิศด้านทักษะวิชาชีพตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนร่วมกับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียนแบบทีมบูรณาการ
3) เพื ่อศึกษาผลการดำเนินงานตามรูปแบบ และ 4) เพื ่อประเมินความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อการดำเนินงานตาม
รูปแบบ กลุ ่มผู ้ให้ข้อมูล ได้แก่ ครูผู ้สอนโรงเรียนเทศบาล 1 ตลาดบางลี ่ (พานิชอุทิศ) จำนวน 40 คน และนักเรียน
428 คน เครื ่องมือที ่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการประชุม คู ่มือการดำเนินงาน
ตามรูปแบบ แบบประเมินทักษะวิชาชีพของนักเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
การหาความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษา พบว่า
1. ความต้องการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านทักษะวิชาชีพตามแนวคิดการมีส่วน
ร่วมของชุมชนร่วมกับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียนแบบทีมบูรณาการ โรงเรียนเทศบาล 1 ตลาดบางลี่ (พานิชอุทิศ)
ของครูผู้สอนมีความต้องการโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และแนวทางการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ที่มุ่งเน้นความ
เป็นเลิศด้านทักษะวิชาชีพตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนร่วมกับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียนแบบทีมบูรณาการ
ตามความคิดเห็นของผู ้เชี ่ยวชาญสรุปได้ 6 ขั ้นตอน ได้แก่ 1. การสร้างทีมงาน 2. การจัดระบบงานแบบบูรณาการ
3. การวางแผนปฏิบัติการ 4. การกระจายการมีส่วนร่วม 5. การประเมินผล และ 6. การประชาสัมพันธ์
2. รูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู ้ที ่มุ ่งเน้นความเป็นเลิศด้านทักษะวิชาชีพตามแนวคิดการมี
ส่วนร่วมของชุมชนร่วมกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบบทีมบูรณาการ ประกอบด้วย 6 ส่วน คือ 1) ทฤษฎีพื้นฐานและ
หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) ระบบและกลไกการดำเนินงาน 4) วิธีการดำเนินงาน 6 ขั้นตอน ได้แก่ การสร้างทีมงาน
การจัดระบบงานแบบบูรณาการ การวางแผนปฏิบัติการ การกระจายการมีส่วนร่วม การประเมินผล และ
การประชาสัมพันธ์ 5) แนวทางการวัดและประเมินผล และ 6) เงื ่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ ผลการประเมินรูปแบบ
พบว่า มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด
3. การศึกษาผลการดำเนินงานตามรูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู ้ที ่มุ ่งเน้นความเป็นเลิศด้าน
ทักษะวิชาชีพตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนร่วมกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบบทีมบูรณาการ พบว่า นักเรียนมี
ทักษะวิชาชีพโดยรวมอยู ่ในระดับที ่สูงขึ ้นเมื ่อเปรียบเทียบกับก่อนการดำเนินงาน และความเป็นเลิศในผลงานด้าน
ทักษะวิชาชีพของนักเรียนในรอบปีการศึกษา 2566 พบว่า มีผลงานที ่เป็นเลิศในระดับชาติ 2 รายการ ในระดับ
ภูมิภาค 21 รายการ และผลงานที่เป็นเลิศในระดับท้องถิ่น
4. ความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านทักษะวิชาชีพตาม
แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนร่วมกับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียนแบบทีมบูรณาการ พบว่า ครูผู ้สอน มีความพึงพอใจ
โดยรวมอยู่ในระดับมาก
Abstract
This research is a research and development with the following objectives: 1) to study the
needs and management guidelines for learning resources that focus on professional skills excellence
based on the concept of community participation with integrated team learning development
activities; 2) to develop a management model for learning resources that focus on professional skills
excellence based on the concept of community participation with integrated team learning
development activities; 3) to study the results of the implementation of the model; and 4) to assess
teachers satisfaction with the implementation of the model. The informants were 40 teachers at
Thesaban School 1, Talat Bangli (Phanit Uthit) and 428 students. The research instruments were
questionnaires, interview forms, meeting minutes, manuals for implementing the model, student
professional skills assessment forms, and satisfaction questionnaires. Data analysis included frequency,
percentage, mean, standard deviation, and descriptive analysis. The results of the study found that:
1. The needs for management of learning resources that focus on professional skills
excellence based on the concept of community participation with integrated team learning
development activities at Thesaban School 1, Talat Bangli (Phanit Uthit) of teachers were at the highest
level overall. The management guidelines for learning resources that focus on professional skills
excellence based on the concept of community participation with integrated team learning
development activities at Thesaban School 1, Talat Bangli (Phanit Uthit) of teachers were at the highest
level. According to the experts’ opinions, there are 6 steps: 1. Team building 2. Integrated work system
organization 3. Action planning 4. Participation distribution 5. Evaluation and 6. Public relations.
2. The results of the development of the learning resource management model focusing on
professional skills excellence based on the concept of community participation in conjunction with
integrated team-based student development activities. The model consists of 6 parts: 1) Basic theory
and principles 2) Objectives 3) System and operation mechanisms 4) Operational methods 6 steps:
Team building, integrated work system organization, action planning, participation distribution,
evaluation and public relations 5) Measurement and evaluation guidelines and 6) Conditions for using
the model. The evaluation results found that the model was most appropriate, feasible and useful.
3. The study of the results of the learning resource management model focusing on
professional skills excellence based on the concept of community participation in conjunction with
integrated team-based student development activities found that students had higher overall
professional skills compared to before the operation. And the excellence in the work of students’
professional skills in the academic year 2023 found that there were 2 excellent works at the national
level, 21 at the regional level, and excellent works at the local level.
4. The satisfaction of teachers with the management of learning resources that focus on
excellence in professional skills based on the concept of community participation with integrated team
learner development activities found that teachers were highly satisfied overall.