ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด
อย่างมี วิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ชื่อผู้จัดทำ นางสาวสุธิดา อินทรเกษตร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
ปีกำรศึกษำ 2566
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2) สร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3) ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 4) เพื่อประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) 2) ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนเทศบาล 1 กิตติขจร จานวน 5 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนเทศบาล 1 กิตติขจร จานวน 1 ห้องเรียน รวม 20 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1 ) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2)แบบสัมภาษณ์ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3) แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อและระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ 5) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย , ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ,ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 และ t-test dependent
ผลการวิจัย พบว่า
1. ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 มีสภาพการจัดการ
เรียนรู้ และปัญหาการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับปานกลาง ( X-bar = 3.50 , S.D. = 0.56 )
2. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
และการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 81.56 / 80.63 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
3. ผลเปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมออนไลน์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา
การปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด