เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยู่หัวทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแกพสกนิกรชาไทยมานานกวา 30 ป โดยเป็นปรัชญาที่แนะแนวการดำรงชีวิตของประชาชนทุกระดับใหดำเนินไปในทางสายกลางเพื่อใหก้าวทันโลกยุคโลกาภิวัตนสามารถพึ่งพาตนเองและสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขด้วยความไม่ประมาท โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลหนองสองห้อง ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้นํานโยบาย/ยุทธศาสตร์สตรของรัฐบาลสู่การปฏิบัติ โดยดำเนินโครงการการจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปัจจุบันโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลหนองสองห้อง
ได้มีการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ซึ่งการบริหารจัดการศึกษาการศึกษาผู้บริหาร ครูและบุคลากรจะต้องมีการพัฒนาให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับนักเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าสู่การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งที่เป็นปัจจัยสนับสนุนการศึกษาอยู่ในระดับเอื้อต่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การประเมินครั้งนี้เป็นการประเมินการดำเนินโครงการการจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งผู้ประเมินได้ชรูปแบบซิปป (CIPP MODEL) ดำเนินผลการประเมินโครงการการจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปผลการประเมินโครงการ
ผลการประเมินโครงการหลังการดําเนินงานโครงการการจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ดังต้อไปนี้
จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาพบวา กลุ่มตัวอย่างเพศชาย จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 48.00 และกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 52.00
จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบวา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 32.00 รองลงมาอายุ 10 39 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 24.00 และอายุต่ำกว่า 10 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 24.00 และน้อยสุดอายุ 40 59 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00
จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบวา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 68.00 รองลงมาระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 6 คน
คิดเป็นร้อยละ 24.00 และสุดท้ายระดับการศึกษาประถมศึกษา จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 8.00
จากตารางที่ 4 ผลการศึกษาพบวา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพรับราชการ จำนวน 7 คน
คิดเป็นร้อยละ 28.00 รองลงมา อาชีพค้าขาย และอื่นๆ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 24.00 รองลงมาเกษตรกร จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 16.00 และอันดับสุดท้าย อาชีพรับจ้าง จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 8.00
จากตารางที่ 5 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดลอม (Context Evaluation) หลังการดำเนินโครงการ ผลการศึกษาพบว่า ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดลอม (Context Evaluation) หลังการดำเนินโครงการภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.72
จากตารางที่ 6 ผลการประเมินโครงการด้านปัจจัยป้อน (Input Evaluation) หลังการดำเนินโครงการ ผลการศึกษาพบว่า ผลการประเมินโครงการด้านปัจจัยป้อน (Input Evaluation) หลังการดำเนินโครงการภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.70
จากตารางที่ 7 ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ (Process Evaluation) หลังการดำเนินโครงการ ผลการศึกษาพบว่า ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ (Process Evaluation) หลังการดำเนินโครงการ ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45
จากตารางที่ 8 ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต (Product Evaluation) หลังการดำเนินโครงการผลการศึกษาพบว่า ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต (Product Evaluation) หลังการดำเนินโครงการ ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43
ขอเสนอแนะ
1. ขอเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ
1.1 ควรมีการชี้แจงรายละเอียดโครงการใหแกหน่วยงานและผู้เกี่ยวของทุกระดับได้รับทราบ
1.2 ผู้บริหารสถานศึกษา หรือหน่วยงานที่เกี่ยวของ ควรใหความสำคัญนการพัฒนาบุคลากร
ที่รับผิดชอบโครงการโดยตรงเพื่อใหการดําเนินงานตามโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
1.3 ควรมีการเตรียมความพรอมของผู้บริหารและผู้รับผิดชอบดําเนินงานโครงการสถานศึกษาเกี่ยวกับโครงการ การนําโครงการสู่การปฏิบัติ และการประยุกตใชองคความรู ทฤษฎีหลักวิชาที่เกี่ยวของเพื่อการบรรลุวัตถุประสงคโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ขอเสนอแนะเพื่อการประเมินครั้งตอไป
2.1 ควรมีการศึกษาผลลัพธ์ (Outcome) หรือผลกระทบ (Impact) ของโครงการที่มีต่อผู้ร่วมโครงการและชุมชนในลักษณะของการติดตามผล (Follow-up or Tracer Study) เพื่อดูผลสรุปรวมและผลประโยชนที่ได้รับจากโครงการที่แท้จริง ทั้งนี้เพื่อการกำหนดแนวทางการขยายโครงการในพื้นที่อื่นตอไป
2.2 ควรมีการประเมินผลแลวทำการศึกษาเจาะลึกในลักษณะของกรณีศึกษา บูรณาการเรียนรู้ของการจัดการเรียนการสอนของแต่ละสถานศึกษา เพื่อถอดบทเรียนเป็นนตนแบบเพื่อการปรับใชสำหรับสถานศึกษาและชุมชนอื่นตอไป