ชื่องานวิจัย การใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ
ขั้นตอนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2
ชื่อผู้วิจัย วนิดา ประดับศรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทำงานอย่างเป็นระบบ
เพื่อให้นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาได้ถูกต้องอย่างเป็นขั้นตอนและได้ทำการนำผลของแต่ละการสังเกต มาหาค่า ร้อยละ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์และหาข้อสรุป
ผลการศึกษาปรากฏว่า จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสังเกตเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 ในเรื่องการใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ โดยคิดจากนักเรียน 28 คน แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีการพัฒนาและมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นจากการใช้กิจกรรม Unplugged
ก่อนเรียน อยู่ในระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 100 ( 28 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 39.29 ( 11 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 57.14 ( 16 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 3.57 ( 1 คน )
การใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ
ขั้นตอนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2
ความสำคัญและที่มา
จากการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ 2560) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้กำหนดให้ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็น และ นำไปใช้ในการดำรงชีวิตหรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้แนวคิดเชิงคำนวณ การแก้ปัญหา ด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ กระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายของหลักสูตรคือ ผู้เรียนจะต้องเข้าใจแนวคิดหลัก ของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้ และทักษะทางด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งเข้าใจและใช้ แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ จากการสอนในรายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 ที่ว่าด้วยเรื่องการแก้ปัญหาอย่างมีลำดับขั้นตอน พบว่า ผู้เรียนยังขาดทักษะ กระบวนการคิด ยังสับสน ในขั้นตอนการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน จึงส่งผลให้ขาดทักษะการทำงานหรือการข้ามขั้นตอนของการทำงาน
ดังนั้น ผู้ทำวิจัย จึงหาวิธีที่จะดำเนินการเพื่อจะแก้ปัญหา เพื่อให้นักเรียนมีความคิดที่เป็นระบบและสามารถแก้ปัญหาต่างๆได้ถูกต้องจะใช้วิธีการประเมินควบคู่ไปกับกิจกรรมการสอน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทำงานอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาได้ถูกต้องอย่างเป็นขั้นตอน
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น
ปัญหาการขาดทักษะการคิดไม่เป็นระบบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2
ตัวแปรตาม
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 มีทักษะในการทำงานและแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
กรอบแนวคิดในการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนบ้านห้วยกะปิ ผู้วิจัยได้จัดทำแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 เพื่อศึกษาปัญหาการขาดทักษะการคิดไม่เป็นระบบของนักเรียนจำนวน 5 ข้อ โดยให้นักเรียนเรียงลำดับพฤติกรรมตามลำดับที่มากที่สุดจนถึงน้อยที่สุดจากลำดับ 1 5 และได้ทำการนำผลของการสังเกตมาหาค่า ร้อยละ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์และหาข้อสรุปพร้อมทั้งนำเสนอในรูปของตารางประกอบคำบรรยาย เพื่อศึกษาปัญหาการขาดทักษะการคิดไม่เป็นระบบของนักเรียน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้(นวัตกรรม) ที่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้จัดการ เรียนการสอน ได้
2. ได้แนวทางในการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณ
3.ค้นพบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนมีทักษะในการทำงานและการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
ขอบเขตของการวิจัย
ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการใช้กิจกรรม Unplugged นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 โดยใช้หัวข้อการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน จำนวน 5 ข้อ และได้กำหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ดังนี้
ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยกะปิ กำลังศึกษา
อยู่ในระดับชั้นประถมปีที่ 2/2 จำนวนห้องเรียนจำนวน 28 คน
แบบสังเกตพฤติกรรมที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบสังเกตเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้นประถมปีที่ 2/2 ในเรื่องการจำนวน 5 ข้อ
วิธีดำเนินการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
ขั้นตอนการดำเนินการ
ในการดำเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในเรื่องการใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบขั้นตอน โดยใช้ แบบสังเกตพฤติกรรมเพื่อหาสาเหตุของการคิดไม่เป็นระบบ ผู้วิจัยได้วางแผนการดำเนินการศึกษา สร้างแบบสังเกตพฤติกรรม โดยใช้ข้อความที่คาดว่าจะสามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูลและได้ดำเนินการซึ่งมีรายละเอียดเป็นขั้นตอนดังนี้
1.ขั้นวิเคราะห์ ( Analysis)
1.1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนได้กำหนดไว้ดังนี้
ประชากร คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนบ้านห้วยกะปิ จำนวน 28 คน
1.2 วิเคราะห์สาเหตุของการคิดไม่เป็นระบบของนักเรียนโดยการหาค่าร้อยละ
2. ขั้นออกแบบ (Design)
ผู้วิจัยดำเนินการสร้างแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน โดยมีลำดับขั้นตอนการสร้างดังนี้
- ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบสังเกตจากเอกสารต่างๆ
- สร้างแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระดับชั้น ป.2/2 จำนวน 5 ข้อ โดยการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้กิจกรรม Unplugged
3. ขั้นดำเนินการ
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้มีการดำเนินการดังนี้
3.1 นำแบบสังเกตเพื่อสังเกตพฤติกรรมโดยใช้กิจกรรม Unplugged ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนบ้านห้วยกะปิ จำนวน 28 คน เพื่อศึกษาปัญหาการขาดทักษะการคิดไม่เป็นระบบ
3.2 ดำเนินการหาค่าร้อยละของแต่ละข้อสาเหตุ
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
- วิเคราะห์ผลจากคะแนนที่ได้จากการทำแบบการสังเกตพฤติกรรม
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
การหาค่าร้อยละ
ค่าร้อยละ = X x 100
N
เมื่อ X = คะแนนที่ได้
N = จำนวนนักเรียนทั้งหมด
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกตและแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลคะแนนการเปรียบเทียบจากการประเมินผลโดยวิธีการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในขณะเล่นกิจกรรม หลังการใช้กิจกรรม Unplugged นักเรียนที่ได้ระดับดีมากคิดเป็นร้อยละ 39.29 เปอร์เซ็น นักเรียนที่ได้ระดับดีคิดเป็น 57.14 นักเรียนที่ได้ระดับพอใช้คิดคิดเป็น ร้อยละ 3.57
ตาราง 1 ผลการประเมินแบบสังเกตพฤติกรรมการใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบขั้นตอน
ที่ รายชื่อ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ
1 ด.ช.ณรงค์ ตัญกาญจน์ 5 17.86 7 25
2 ด.ช.ปิยวัฒน์ ดอกรัก 5 17.86 7 25
3 ด.ช.พงศกร ฮกซุ่นเฮง 5 17.86 9 32.14
4 ด.ช.จุลวิชช์ จิตตกิจ 5 17.86 8 28.57
5 ด.ช.ธนกร นาคเกษม 5 17.86 9 32.14
6 ด.ช.วุฒิภัทร กิมฮวย 5 17.86 10 100
7 ด.ช.นราวุฒิ เลื่อมศิริ 5 17.86 7 25
8 ด.ช.ณัฐภัทร บุญพีระ 5 17.86 7 25
9 ด.ช.ณัฐวุฒิ อ่อนอ่ำ 5 17.86 10 100
10 ด.ช.อัครพล พรมงาม 5 17.86 10 100
11 ด.ช.ธีรภัทร พุทไธสง 5 17.86 7 25
12 ด.ช.พิทยุตม์ บุญศรี 5 17.86 10 100
13 ด.ช.รัตน จำปาชาติ 5 17.86 10 100
14 ด.ช.วิจิตรศิลป์ มุกศรี 5 17.86 9 32.14
15 ด.ช.พงษ์ศักดิ์ ท่าภิรมย์ 5 17.86 8 28.57
16 ด.ญ.กมลชนก วงศ์พิทักษ์ 5 17.86 7 25
17 ด.ญ.พรรณวษา ติดชอบ 5 17.86 9 32.14
18 ด.ญ.วรรณวิภา บุญมาก 5 17.86 7 25
19 ด.ญ.สุภาวดี ปักกะโส 5 17.86 7 25
20 ด.ญ.ปภาวดี เสนารัตน์ 5 17.86 8 28.57
21 ด.ญ.พรรณภาพร พวงอร่าม 5 17.86 8 28.57
22 ด.ญ.ธมนวรรณ กิตติวุฒิ 5 17.86 7 25
23 ด.ญ.ณัฐณิชา สามารถ 5 17.86 7 25
24 ด.ญ.พูนศิริ น้อยนาง 5 17.86 8 28.57
25 ด.ญ.ธนวรรณ คำภาแก้ว 5 17.86 9 32.14
26 ด.ญ.จิรนันท์ จิรกุลรัตน์ 5 17.86 8 28.57
27 ด.ญ.กัญญาพัชร คำตรง 5 17.86 6 21.43
28 ด.ญ.ณัชชา สุทำมา 5 17.86 10 100
จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีการพัฒนาและมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นจากการใช้กิจกรรม Unplugged
ก่อนเรียน อยู่ในระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 100 ( 28 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 39.29 ( 11 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 57.14 ( 16 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 3.57 ( 1 คน )
สรุปผลการศึกษาวิจัย
จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 ในเรื่องการใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบขั้นตอน แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีการพัฒนาและมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นจากการใช้กิจกรรม Unplugged
ก่อนเรียน อยู่ในระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 100 ( 28 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 39.29 ( 11 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 57.14 ( 16 คน )
หลังเรียน อยู่ในระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 3.57 ( 1 คน )
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะจากการศึกษา จากผลการศึกษาพบว่าการใช้กิจกรรม Unplugged สามารถนำมาแก้ปัญหาเรื่องระบบการคิดของนักเรียนได้จริง จึงเห็นสมควรที่ครูผู้สอนวิชาวิทยาการคำนวณ หรือรายวิชาอื่นๆ สามารถนำเอาการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม Unplugged เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการและสามารถนำไปใช้ในรายวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆได้
ภาคผนวก
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนบ้านห้วยกะปิ
เรื่องการใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาด ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบขั้นตอน
คำชี้แจง : ให้ทำเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ
เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ
รับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมาย
(2 คะแนน) มีทักษะในการคิดอย่างเป็นระบบ
(2 คะแนน) นำเสนอผลงาน
ได้น่าสนใจ
(2 คะแนน) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(2 คะแนน) ทำงานเสร็จ
ตามเวลาที่กำหนด
(2 คะแนน) รวมคะแนน
1 ด.ช.ณรงค์ ตัญกาญจน์
2 ด.ช.ปิยวัฒน์ ดอกรัก
3 ด.ช.พงศกร ฮกซุ่นเฮง
4 ด.ช.จุลวิชช์ จิตตกิจ
5 ด.ช.ธนกร นาคเกษม
6 ด.ช.วุฒิภัทร กิมฮวย
7 ด.ช.นราวุฒิ เลื่อมศิริ
8 ด.ช.ณัฐภัทร บุญพีระ
9 ด.ช.ณัฐวุฒิ อ่อนอ่ำ
10 ด.ช.อัครพล พรมงาม
11 ด.ช.ธีรภัทร พุทไธสง
12 ด.ช.พิทยุตม์ บุญศรี
13 ด.ช.รัตน จำปาชาติ
14 ด.ช.วิจิตรศิลป์ มุกศรี
15 ด.ช.พงษ์ศักดิ์ ท่าภิรมย์
16 ด.ญ.กมลชนก วงศ์พิทักษ์
17 ด.ญ.พรรณวษา ติดชอบ
18 ด.ญ.วรรณวิภา บุญมาก
19 ด.ญ.สุภาวดี ปักกะโส
20 ด.ญ.ปภาวดี เสนารัตน์
21 ด.ญ.พรรณภาพร พวงอร่าม
22 ด.ญ.ธมนวรรณ กิตติวุฒิ
23 ด.ญ.ณัฐณิชา สามารถ
24 ด.ญ.พูนศิริ น้อยนาง
25 ด.ญ.ธนวรรณ คำภาแก้ว
26 ด.ญ.จิรนันท์ จิรกุลรัตน์
27 ด.ญ.กัญญาพัชร คำตรง
28 ด.ญ.ณัชชา สุทำมา
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดับ ดี
คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้
คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนบ้านห้วยกะปิ
เรื่องการใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาด ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบขั้นตอน
คำชี้แจง : ให้ทำเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ (ก่อนเรียน)
เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ
รับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมาย
(2 คะแนน) มีทักษะในการคิดอย่างเป็นระบบ
(2 คะแนน) นำเสนอผลงาน
ได้น่าสนใจ
(2 คะแนน) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(2 คะแนน) ทำงานเสร็จ
ตามเวลาที่กำหนด
(2 คะแนน) รวมคะแนน
1 ด.ช.ณรงค์ ตัญกาญจน์ 1 1 1 1 1 5
2 ด.ช.ปิยวัฒน์ ดอกรัก 1 1 1 1 1 5
3 ด.ช.พงศกร ฮกซุ่นเฮง 1 1 1 1 1 5
4 ด.ช.จุลวิชช์ จิตตกิจ 1 1 1 1 1 5
5 ด.ช.ธนกร นาคเกษม 1 1 1 1 1 5
6 ด.ช.วุฒิภัทร กิมฮวย 1 1 1 1 1 5
7 ด.ช.นราวุฒิ เลื่อมศิริ 1 1 1 1 1 5
8 ด.ช.ณัฐภัทร บุญพีระ 1 1 1 1 1 5
9 ด.ช.ณัฐวุฒิ อ่อนอ่ำ 1 1 1 1 1 5
10 ด.ช.อัครพล พรมงาม 1 1 1 1 1 5
11 ด.ช.ธีรภัทร พุทไธสง 1 1 1 1 1 5
12 ด.ช.พิทยุตม์ บุญศรี 1 1 1 1 1 5
13 ด.ช.รัตน จำปาชาติ 1 1 1 1 1 5
14 ด.ช.วิจิตรศิลป์ มุกศรี 1 1 1 1 1 5
15 ด.ช.พงษ์ศักดิ์ ท่าภิรมย์ 1 1 1 1 1 5
16 ด.ญ.กมลชนก วงศ์พิทักษ์ 1 1 1 1 1 5
17 ด.ญ.พรรณวษา ติดชอบ 1 1 1 1 1 5
18 ด.ญ.วรรณวิภา บุญมาก 1 1 1 1 1 5
19 ด.ญ.สุภาวดี ปักกะโส 1 1 1 1 1 5
20 ด.ญ.ปภาวดี เสนารัตน์ 1 1 1 1 1 5
21 ด.ญ.พรรณภาพร พวงอร่าม 1 1 1 1 1 5
22 ด.ญ.ธมนวรรณ กิตติวุฒิ 1 1 1 1 1 5
23 ด.ญ.ณัฐณิชา สามารถ 1 1 1 1 1 5
24 ด.ญ.พูนศิริ น้อยนาง 1 1 1 1 1 5
25 ด.ญ.ธนวรรณ คำภาแก้ว 1 1 1 1 1 5
26 ด.ญ.จิรนันท์ จิรกุลรัตน์ 1 1 1 1 1 5
27 ด.ญ.กัญญาพัชร คำตรง 1 1 1 1 1 5
28 ด.ญ.ณัชชา สุทำมา 1 1 1 1 1 5
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดับ ดี
คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้
คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง
ข้อเสนอแนะ
- ไม่มี
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนบ้านห้วยกะปิ
เรื่องการใช้กิจกรรม Unplugged แก้ปัญหาการขาด ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบขั้นตอน
คำชี้แจง : ให้ทำเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ (หลังเรียน)
เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ
รับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมาย
(2 คะแนน) มีทักษะในการคิดอย่างเป็นระบบ
(2 คะแนน) นำเสนอผลงาน
ได้น่าสนใจ
(2 คะแนน) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(2 คะแนน) ทำงานเสร็จ
ตามเวลาที่กำหนด
(2 คะแนน) รวมคะแนน
1 ด.ช.ณรงค์ ตัญกาญจน์ 2 1 1 1 2 7
2 ด.ช.ปิยวัฒน์ ดอกรัก 2 1 1 1 2 7
3 ด.ช.พงศกร ฮกซุ่นเฮง 2 2 1 2 2 9
4 ด.ช.จุลวิชช์ จิตตกิจ 2 1 1 2 2 8
5 ด.ช.ธนกร นาคเกษม 2 2 1 2 2 9
6 ด.ช.วุฒิภัทร กิมฮวย 2 2 2 2 2 10
7 ด.ช.นราวุฒิ เลื่อมศิริ 2 1 1 1 2 7
8 ด.ช.ณัฐภัทร บุญพีระ 2 1 1 1 2 7
9 ด.ช.ณัฐวุฒิ อ่อนอ่ำ 2 2 2 2 2 10
10 ด.ช.อัครพล พรมงาม 2 2 2 2 2 10
11 ด.ช.ธีรภัทร พุทไธสง 2 1 1 1 2 7
12 ด.ช.พิทยุตม์ บุญศรี 2 2 2 2 2 10
13 ด.ช.รัตน จำปาชาติ 2 2 2 2 2 10
14 ด.ช.วิจิตรศิลป์ มุกศรี 2 2 1 2 2 9
15 ด.ช.พงษ์ศักดิ์ ท่าภิรมย์ 2 1 2 1 2 8
16 ด.ญ.กมลชนก วงศ์พิทักษ์ 2 1 1 1 2 7
17 ด.ญ.พรรณวษา ติดชอบ 2 2 2 1 2 9
18 ด.ญ.วรรณวิภา บุญมาก 2 1 1 1 2 7
19 ด.ญ.สุภาวดี ปักกะโส 2 1 1 1 2 7
20 ด.ญ.ปภาวดี เสนารัตน์ 2 1 2 1 2 8
21 ด.ญ.พรรณภาพร พวงอร่าม 2 1 2 1 2 8
22 ด.ญ.ธมนวรรณ กิตติวุฒิ 2 1 1 1 2 7
23 ด.ญ.ณัฐณิชา สามารถ 2 1 1 1 2 7
24 ด.ญ.พูนศิริ น้อยนาง 2 1 2 1 2 8
25 ด.ญ.ธนวรรณ คำภาแก้ว 2 2 1 2 2 9
26 ด.ญ.จิรนันท์ จิรกุลรัตน์ 2 1 2 1 2 8
27 ด.ญ.กัญญาพัชร คำตรง 2 1 1 1 1 6
28 ด.ญ.ณัชชา สุทำมา 2 2 2 2 2 10
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดับ ดี
คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้
คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง
ข้อเสนอแนะ
- ไม่มี