ผู้รายงาน : นายสกุลเทพ พรหมเอาะ
หน่วยงาน : โรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) อำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์
ปีการศึกษา : 2564
บทคัดย่อ : รายงานการประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการ ดังนี้
1.เพื่อประเมินผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาวินัยนักเรียน ของโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนและคณะกรรมการสถานศึกษาใน 5 ดาน คือ
1.1 ดานบริบท (Context)
1.2 ดานปจจัยนำเข้า (Input)
1.3 ดานกระบวนการ (Process)
1.4 ดานผลผลิต (Product)
1.5 ดานผลกระทบ (Impact)
2.และเพื่อศึกษาการพัฒนาวินัยของนักเรียน
3. เพื่อนําเสนอแนวทางในการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียน
เป้าหมายที่ใชในการประเมิน ไดแก ครูผูสอนและคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 10 คน และนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 22 คน ของโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) อําเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามจํานวน 2 ฉบับ
ฉบับที่ 1 แบบสอบถามความคิดเห็นของครูผูสอนและคณะกรรมการสถานศึกษาที่มีตอโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) เกี่ยวกับความเหมาะสม ความพอเพียงและการปฏิบัติงานในโครงการเพื่อนําไปประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา)
ฉบับที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน เกี่ยวกับการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) ดำเนินการส่งและเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม นำมาหาความถี่ ค่าร้อยละ ระดับการความเหมาะสม เพียงพอ และปฏิบัติจริงในแต่ละด้านใช้การคำนวณค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิเคราะหขอมูลการประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียน (ครูผูสอนและคณะกรรมการสถาน ศึกษา)
1.ผลการวิเคราะหขอมูลการประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของครูผูสอนและคณะ
กรรมการสถานศึกษา พบวา ดานบริบทโดยรวมอยูในระดับเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 ดานปจจัยนำเข้าโดยรวมมีความเพียงพออยูในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 ดานกระบวนการโดยรวมมีการปฏิบัติงานอยูในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 ดานผลผลิตโดยรวมมีความ เปนจริงอยูในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 และดานผลกระทบครูและคณะกรรมการสถานศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมอยูในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45
2. .ผลการวิเคราะหขอมูลดานการพัฒนาวินัยนักเรียน ของครูผู้สอนและคณะกรรมการ
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) พบวา ด้านความรับผิดชอบโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 ด้านความซื่อสัตย์โดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียนโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 ด้านความอดทนโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 ด้านความเชื่อมั่นในตนเองโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 และด้านความเป็นผู้นำโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35
ผลการวิเคราะหขอมูลการประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียน ( นักเรียน)
1.ผลการวิเคราะหขอมูลดานการพัฒนาวินัยนักเรียน ของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล
พบวา ด้านความรับผิดชอบโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 ด้านความซื่อสัตย์โดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.61 ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียนโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 ด้านความอดทนโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 ด้านความเชื่อมั่นในตนเองโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 และด้านความเป็นผู้นำโดยรวมมีการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.36
สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินสรุปไดดังนี้
1. ผลการวิเคราะหขอมูลการประเมินโครงพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) ตามความคิดเห็นของครูของครูผูสอนและคณะกรรมการสถานศึกษา ดังนี้
1.1 ดานบริบท โดยรวมอยูในระดับเหมาะสมมากที่สุด ทั้งนี้เพราะวาการดําเนินงานตามโครงการไดประเมินเกี่ยวกับสภาพการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการ เหตุผล วัตถุประสงค และเปาหมายของการดําเนินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนที่มีความเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนและการดําเนินงานตามโครงการเปนอยางดี ซึ่งสอดคลองกับ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam. 2003 : 41-45 อ้างถึงใน รัตนะ บัวสนธ์. 2556 : 23) กล่าวว่าการประเมินบริบท (Context Evaluation) จะช่วยให้การตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนในการกำหนดวัตถุประสงค์ โดยจะเน้นในด้านความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ความต้องการและความจำเป็นการประเมินบริบทส่วนนี้มีความสำคัญ ที่จะนำไปสู่การออกแบบโครงการแผนงานที่มีความเหมาะสมเป็นไปได้
1.2 ดานปจจัยนําเขา โดยรวมมีความเพียงพออยูระดับมาก ในการดําเนินงานตามโครงการ
พัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) ไดประเมินเกี่ยวกับปจจัยที่ใชในการดําเนินงานโครงการพัฒนาวินัยนักเรียน ไดแก บุคลากร วัสดุอุปกรณและงบประมาณวามีความเพียงพอตอการดําเนินงานตามโครงการ ซึ่งโรงเรียนไดเห็นความสําคัญและสนับสนุนเปนอยางดีและ ตอเนื่อง จึงสงผลทําใหความเพียงพออยูในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ อาภรณ บางเจริญพรพงษ (2538 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาการประเมินโครงการพัฒนาขาราชการครูดานวิชาการ ผลการวิจัยพบวา การประเมินปจจัยนําเขา ภาพรวมอยูในระดับมาก ชัชฎา พารุง (2539 : บทคัดยอ) ไดทําการประเมิน หลักสูตรฝกอบรมเตรียมผูบริหารสถานศึกษาระดับสูง สังกัดกรมอาชีวศึกษาของสถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา โดยใชรูปแบบการประเมินแบบซิป ผลการวิจัย พบ วา ดานปจจัยเบื้องตน ผูเขาอบรม วิทยากรพี่เลี้ยง และผูผานการฝกอบรมมีความเห็น วาโครงสรางหลักสูตรและเนื้อหามีความเหมาะสมอยูในระดับมาก
1.3 ดานกระบวนการ โดยรวมมีการปฏิบัติงานอยูในระดับมากที่สุด ในการดําเนินงานตาม
โครงการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาครุราษฎร์พัฒนา) ไดประเมินดานกระบวนการเกี่ยวกับการวางแผน การดําเนินการ การจัดกิจกรรม การพัฒนาบุคลากร การติดตามประเมินผล และการนําผลการประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา วาไดมีการปฏิบัติมากนอยเพียงใดนั้น พบวาอยูในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ อาภรณ บางเจริญพรพงษ (2538 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษา การประเมินโครงการพัฒนาขาราชการครูดานวิชาการ โดยมีวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการพัฒนาขาราชการครูดานวิชาการ รุน 2-4 โดยการประเมินดาน กระบวนการ ผลการวิจัยพบวา การประเมินดําเนินการของโครงการภาพรวมอยูในระดับมาก
1.4 ดานผลผลิต โดยรวมมีความพึงพอใจระดับมาก ผลจากการดําเนินงานตามโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนย้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) ดานผลผลิต ไดประเมินความเปนจริงที่มีตอความมีวินัยของนักเรียนตามตามความคิดเห็นของครู คณะกรรมการสถานศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล ในคุณลักษณะ 6 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความซื่อสัตย์ ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน ด้านความอดทน ด้านความเชื่อมั่นในตนเอง และด้านความเป็นผู้นำ วาผลเมื่อสิ้นสุดโครงการไดบรรลุวัตถุประสงคและมีความเปนจริงตอการดําเนินงานดานวินัยอยูในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ชัชฎา พารุง (2539 : บทคัดยอ) ไดทําการประเมิน หลักสูตรฝกอบรมเตรียมผูบริหารสถานศึกษาระดับสูง สังกัดกรมอาชีวศึกษาของสถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา โดยใชรูปแบบการประเมินแบบซิป ประเมินหลักสูตรฝกอบรม ในดานผลผลิต พบทวา ผูผานการฝกอบรม มีความเห็นวา ไดรับความรูและทักษะจากหลักสูตรฝกอบรมในระดับมาก และผูบังคับบัญชาของผูผานการฝกอบรมมีความเห็นในระดับมากกวาผูผานการอบรมมีคุณลักษณะที่เหมาะสม ในภาพรวมอยูในระดับมาก
1.5 ดานผลกระทบ ครูและคณะกรรมการสถานศึกษามีความเห็นวาผลกระทบโดยรวมอยูในระดับมาก ในการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) ไดประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นซึ่งพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของบุคคลโดยตรง และทางออมกับผล ผลิตของโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนวาเกิดอะไรขึ้นกับนักเรียนโดยตรง และนักเรียนไดอะไรบางจากการเขารวมโครงการเมื่อจบการดําเนินงานตามโครงการแลว ซึ่งไดแก่ นักเรียนมีวินัยด้านความรับผิด ชอบ ด้านความซื่อสัตย์ ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน ด้านความอดทน ด้านความเชื่อมั่นในตนเอง และด้านความเป็นผู้นำ จากความคิดเห็นของครูและคณะกรรมการสถานศึกษาอยูในระดับมาก แสดงใหเห็นวาการดําเนินงานตามโครงบรรลุผลตามวัตถุประสงค ซึ่งสิทชัด คําวรรณ (2541 : 67) ไดกลาวถึงบทบาทของผูบริหารในการสงเสริมวินัยในตนเองของนักเรียนควรมีการดําเนินการ คือ (1) ควรมีการวางแผนรวมกันจาก หลาย ๆ ฝาย ทั้งคณะครูในโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษานักเรียน ผูปกครองนักเรียน (2) ควรมีการกําหนดบทบาทผูที่รับผิดชอบใหชัดเจน โดยผูบริหารโรงเรียนตองกํากับดูแลอยางใกลชิดและใหความสําคัญกับงานวินัยนักเรียนเทากับงานดานอื่น (3) ควรมีการกระตุนและเสริมแรงสําหรับนักเรียนที่กระทําความดีอยางสม่ำเสมอและจริงจัง มีการเผยแพรเกียรติคุณตอสาธารณชนใหเปนที่ประจักษ (4) ควรมีการประสานงานกับบุคลากรและหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหดําเนินงานสําเร็จและมีประสิทธิภาพ (5) ควรมีการประเมินผลอยางสม่ำเสมอ มีรูปแบบที่ชัดเจนและใหบุคลากรทุกฝายมีสวนรวม เพื่อนําผลการประเมินไปใชเปนแนวทางปรับปรุงงานสงเสริมวินัยนักเรียนตอไป (6)ควรจัดทําคูมือสงเสริมงานวินัยนักเรียนใหเหมาะสมในแตละจังหวัด อําเภอ หรือโรงเรียน และ (7) ควรจัดทําสื่อประเภทตาง ๆ เชน วารสาร สิ่งพิมพแผนพับ เพื่อสงเสริมคุณธรรมและคานิยมแกประชาชนและผูปกครอง
2. การนําเสนอแนวทางในการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) จากผลการประเมินพบวา การดําเนินงานตามโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล ดานบริบท ดานปจจัยนําเขา ดานกระบวนการ ดานผลผลิต และดานผลกระทบ อยูในระดับมาก แสดงใหเห็นวาการดําเนินงานตามโครงบรรลุผลตามวัตถุประสงคที่ทางโรงเรียนไดกําหนดไว ผูวประเมินมีขอเสนอแนวทางในการพัฒนาวินัยนักเรียน ดังนี้
2.1 การบริหารจัดการ ผูบริหารจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเขามาสนับสนุนสงเสริมในการพัฒนาวินัยในการดําเนินการจัดองคกรที่มีสวนรวมในการดําเนินงานพัฒนาวินัยของนักเรียนทั้ง 3 องคกร คือ นักเรียน ครู และผูปกครอง โดยแตละองคกรมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางความมีวินัยในตนเองใหกับนักเรียน ทั้ง 6 ดาน ไดแก ด้านความรับผิดชอบ ด้านความซื่อสัตย์ ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน ด้านความอดทน ด้านความเชื่อมั่นในตนเอง และด้านความเป็นผู้นำ และโรงเรียนดําเนินการตามระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางใกลชิด โดยมอบหมายงานใหครูประจำชั้นจัดกิจกรรมดูแล ติดตาม ประเมินผลความมีวินัยในตนเองของนักเรียน ในสวนดานการจัดการเรียนรู โรงเรียนไดใหการนิเทศแกครูผูสอนมีการสอดแทรกความมีวินัยในตนเอง คุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงามควบคูไปกับการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังมอบหมายงานใหกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลูกเสือเนตรนารียุวกาชาด กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมแนะแนว และกิจกรรมหองสมุด ดําเนินการจัดกิจกรรมสงเสริมความมีวินัยในตนเอง ทั้ง 6 ดาน และเมื่อดําเนินการเสร็จสิ้นควรจัดประเมินผลความมีวินัยของนักเรียนเพื่อใชเปนของมูลสารสนเทศประกอบการพัฒนา
2.2 การมีสวนรวมของผูปกครอง ผูบริหารควรกําหนดนโยบายใหผูปกครองเขามามีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรม เพื่อสงเสริมใหนักเรียนมีการพัฒนาความมีวินัยนักเรียนในดานตาง ๆ
เชน กิจกรรมทางวิชาการ กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมอาสาและพัฒนา กิจกรรมกีฬา กิจกรรมดนตรีและศิลปะ กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมสงเสริมระเบียบวินัย การเขาคายจริยธรรม การเขาวัดปฏิบัติธรรม เนื่องในวันสําคัญทางศาสนา การอบรมทางศาสนา และการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ เปนตน
2.3 การใหความสําคัญแกครู โดยโรงเรียนควรมีนโยบายสนับสนุนใหครูมีวินัยในตนเอง โดยการปฏิบัติตนเปน ตนแบบ จัดกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของครูมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความมีวินัยของครูโดยประชุมชี้แจงสรางความตระหนักและความจําเปนในการเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน และมอบหมายใหครูแตละคนปฏิบัติตนเปนตนแบบดานความมีวินัยในตนเองทั้ง 6 ดาน ใหเปนแบบอยางแกนักเรียน ซึ่งสอด คลองกับกาญจนา ศรีกาฬสินธุ์ (2544 : 8-9) กลาววา การปลูกฝงหรือเสริสรางนักเรียนใหเปนผูมีวินัยในตนเองนั้น ครูอาจารยในโรงเรียนจะตองวางแผนดําเนินการสอนและมีกิจกรรมการเรียนที่เหมาะสมและนาสนใจสําหรับนักเรียนทุกคน ครูประจําชั้นและบุคคลอื่น ๆ ที่มีหนาที่ปฏิบัติงานใกลชิดกับนักเรียนโดยตรงจะตองเปนผูมีความรูความเขาใจในรูปแบบการเจริญ เติบโต หรือพัฒนาการของนักเรียน เพื่อจะไดเขาใจพฤติกรรมของนักเรียนที่มีลักษณะเฉพาะในแตละวัย ซึ่งจะชวยใหครูสามารถหรือแกไขปญหาของนักเรียนไดอยางถูกตองและดวยความเห็นอกเห็นใจ และครูอาจารยและผูที่ใกลชิดนักเรียนจะตองตระหนักอยูเสมอในเรื่องที่ตนมีสวนอยางยิ่งในการสรางความรูสึกของนักเรียนทุกคน ใหเขารูสึกกวาตนเองเปนคนดีมีคุณคาเทาเทียมกับคนอื่น เชน จะตองชวยใหนักเรียนทุกคนมีโอกาสประสบความสําเร็จในงานที่ทํา และไดรับการยกยองหรือเปนที่ยอมรับของคนอื่นอยูเสมอ ตองสงเสริมใหเด็ก ๆ มีสวนรวมกับเพื่อน ๆ ในกิจกรรมตาง ๆ ที่สรางสรรคโดยงานที่มอบหมายจะ ตองพอเหมาะกับความรูความสามารถของเด็กแตละคน สมจิตต สุวรรณวงศ (2542 : 44) ไดเสนอหลักปฏิบัติในการสรางวินัยในตนเองใหแกเด็กในดานการทําเปนตัวอยาง เด็กจะเลียนแบบสิ่งรอบตัว จึงควรทําเปนตัวอยางที่ดีใหเด็กเห็นและยังสอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม เชิงพุทธิปญญา ของ Bandura (อางในจิตตานันนท ติกุล : 41-42) ถือวาตัวแบบที่มีอิทธิพลตอการเรียนรูทั้งที่ชีวิตและไมมีชีวิต ซึ่งครูอาจารยเปนตัวแบบที่มีชีวิตที่บุคคลไดเรียนรูตอจากบิดามารดา และสอดคลองกับงานวิจัยของ ไพฑูรย การเพียร (2544 : 62-64) ศึกษาบทบาทของครูในการสงเสริมความมีวินัยในตนเองของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาอําเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม ไดผลสรุปวา ครูผูสอนสวนมากใหความเห็นวาบทบาทของครูผูสอนสมควรอยางยิ่งที่จะประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีมีการจัดประกวดผูมีมารยาทดีเดนและมอบรางวัลใหกับผูชนะการประกวด มีการยกยองชมเชยสําหรับผูประพฤติดีและลงโทษผูประพฤติไมดีมีการรวมมือปรึกษาหารือกับผูปกครองตลอดจนฝายตาง ๆ ในโรงเรียนเพื่อรวมมือกันแกปญหาพฤติกรรมของนักเรียนที่ประพฤติผิด มีการตั้งกฎบทลงโทษที่ชัดเจน มีการกํากับติดตามและประเมินผลเปนระยะอยางสม่ําเสมอ เนนใหครูมีการอบรมระเบียบวินัยทุกครั้งที่เขาสอบ จัดทําสมุดประวัตินักเรียนที่พฤติกรรมดีเดนเพื่อเปนแบบอยางแกคนอื่น ๆ และที่สําคัญในการสงเสริมความมีวินัยนักเรียน ครูจะตองใชจิตวิทยาและคอยตักเตือนอยางใกลชิด ตองใหความสําคัญเกี่ยวกับการสงเสริมวินัยเทา ๆ กับงานสอน และที่สําคัญควรจะใหนักเรียนแสดงออกในทางสรางสรรคในตนเองใหอยูในระเบียบวินัยดวย จากเหตุผลดังกลาวขางตนจะเห็นไดวา การปลูกฝงหรือเสริมสรางความมีวินัยของนักเรียนมิใชหนาที่ความรับผิดชอบของผูหนึ่งผูใด หรือสถาบันใดสถาบันหนึ่ง ตองอาศัยความรวมมือ ความรับผิดชอบจากทุกฝายโดยเริ่มตั้งแตผูบริหารโรงเรียน ผูปกครองนักเรียน เครือขายผูปกครองนักเรียน ครู นักเรียน กลุมเพื่อนนักเรียน คณะกรรมการนักเรียน สื่อ พระสงฆ หรือผูนําทางศาสนา และองคกรตาง ๆ ในสังคม ที่จะตองรวมมือประสานสัมพันธในการพัฒนาวินัยนักเรียน
ขอเสนอแนะ
จากผลการประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุ-ราษฎร์พัฒนา) พบว่า โครงการมีความต่อเนื่อง ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียนและผู้รับผิดชอบโครงการ ควรพิจารณาในการกำหนดนโยบายในเชิงบริหารทั้งในด้านบุคลากร และงบประมาณเพื่อให้การดำเนินโครงการมีประสิทธิภาพมากที่สุด และเป็นการสร้างโอกาสอย่างดียิ่งให้โรงเรียนใช้โครงการนี้เป็นต้นแบบในการดำเนินการบริการแก่ชุมชน สร้างโอกาสในการประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาของโรงเรียน จึงควรกำหนดเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. การประเมินด้านบริบท
จากความสำเร็จที่ปรากฏในรายงานการประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) เป็นความสำเร็จที่เกิดจากความตั้งใจจริง ความร่วมมือ ความวิริยะอุตสาหะของทุกคน ตั้งแต่ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูผู้สอนและบุคลากรคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียน ชุมชน ท้องถิ่น ดังนั้น หากจะมีการดำเนินงานตามโครงการนี้ต่อไป การคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการต้องพิจารณาบริบทและความพร้อมของโรงเรียนและชุมชน เป็นองค์ประกอบสำคัญด้วย
2. การประเมินด้านปัจจัยนำเข้า
ปัจจัยนำเข้าที่สำคัญที่สุดของการประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) คือ ปัจจัยด้านทรัพยากร ซึ่งทรัพยากรบุคคลนั้นอาจจะแก้ไขได้ยาก แต่ปัจจัยด้านทรัพยากรทั้งการเงิน วัสดุ อุปกรณ์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ ในการประเมินโครงการเป็นอย่างมาก โรงเรียนบ้านโนนตาลเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขาดแคลนงบ ประมาณ ควรจะได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐให้เพียงพอจะบริหารจัดการในด้านการปรับปรุงให้เพียงพอ ในด้านพัฒนาควรเป็นหน้าที่ของโรงเรียนและชุมชน เพราะหากได้รับงบประมาณไม่เพียงพอในการปรับปรุงก็จะเป็นการยากที่จะก้าวไปสู่ขั้นตอนของการพัฒนา
. 3. การประเมินด้านกระบวนการ
การประเมินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลา-คุรุราษฎร์พัฒนา) มีกระบวนการบริหารโครงการที่ชัดเจน แต่จำนวนบุคลากรทางการศึกษาในปีการศึกษา 2564 มีจำนวนน้อย ซึ่งต้องรับผิดชอบและมีภาระงานเยอะ การดำเนินงานโครงการจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกส่วน ไม่ว่าจะเป็น ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน วัด เพื่อประสานการดำเนินกิจกรรมเสริมต่างๆในการพัฒนาวินัยในตนเองของนักเรียน
4. การประเมินด้านผลผลิต
ความสำเร็จของโรงเรียนดำเนินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาคุรุราษฎร์พัฒนา) จะเกิดจากความสามารถเฉพาะตัวของผู้บริหารเป็นหลัก หากผู้บริหารสนใจเอาใจใส่จะทำให้โครงการดำเนินการไปอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน ซึ่งผลผลิตที่สำคัญที่สุดของโครงการนี้คือนักเรียน หากจะรักษาและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต คือ พัฒนาวินัยของนักเรียน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบการตรวจติดตามเพื่อการพัฒนาของโครงการ และเสริมสร้างความมีระเบียบวินัยให้มากยิ่งขึ้น
5. การประเมินด้านผลกระทบ
เมื่อโรงเรียนดำเนินโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนตาล จนประสบความสำเร็จจะเป็นตัวอย่างให้กับโรงเรียนอื่นๆ อาจต้องเตรียมการต้อนรับคณะครู จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารจะต้องวางแผนต้อนรับให้ชัดเจน เพราะหากไม่มีรูปแบบหรือแผนการต้อนรับที่ดี อาจจะมีผลกระทบต่อนักเรียนเนื่องจากครูหรือนักเรียนที่เป็นผู้นำชม อาจต้องเสียเวลาเรียนเพื่อทำหน้าที่นำคณะครูเยี่ยมชม
ข้อเสนอแนะในการนำผลการประเมินไปประยุกต์ใช้
1.ควรกำหนดมาตรการการกำกับติดตามให้ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียน ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินจัดการพัฒนาวินัยนักเรียนของนักเรียนอย่างเป็นระบบ
2.การพัฒนาวินัยของนักเรียนอย่างแท้จริง โรงเรียนควรมีการจัดสรรหรือของบประมาณสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอในการดำเนินโครงการ
3.การดำเนินโครงการพัฒนาวินัยของนักเรียนโรงเรียนของโรงเรียนบ้านโนนตาล (ศีลาครุรุ-ราษฎร์พัฒนา) เป็นความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียน ชุมชน วัด ดังนั้นควรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาด้านวินัยในตนเองของเด็กควบคู่กันไปกับการศึกษา