สภาพปจจุบันปญหา ความสําคัญและความจําเปน
จากพระกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ต
อ ประชาชนชาวไทยให ชวยสรางคนดีใหบานเมือง พรอมทั้งพระราชทานหลัก 3 ประการ ที่เกี่ยวกับครู
และนักเรียนไววา ใหครูรักเด็ก เด็กรักครู ใหครูสอนให เด็กมีน้ําใจตอเพื่อไมใหแขงขันกัน แตใหแขงกับ
ตัวเอง และใหเด็กที่เรียนเกงชวยสอนเพื่อนที่เรียนชากวา ใหครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนทํารวมกันเพื่อให
เห็นคุณคาของความสามัคคี และพระราชปณิธาน จากพระราชกระแสรับสั่งขางตน สมเด็จพระเจาอยูหัว
มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระราชทาน พระบรมราโชบาย ดานการศึกษาเพื่อสานตอ
พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 วา การศึกษาตองมุงสรางพื้นฐานใหแกผูเรียน
4 ดาน คือ 1. มีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง 3. มีงานทํา มีอาชีพ
4 .เปนพลเมืองที่ดี
ดังนั้น การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมใหกับเยาวชนของชาติใหเปนคนดีมีคุณธรรมจึงมีความจําเปน
การจัดการศึกษาจึงเปนกลไกหนึ่งที่จะชวยขัดเกลา บมเพาะความดีงามใหค้ําจุนเยาวชนไทยสืบไป จึงสราง
นวัตกรรมการบริหารที่มุงเนนความเปนเลิศในดานความรู ควบคูกับคุณธรรม จริยธรรม ที่คลอบคลุมตั้งแต
ผูบริหาร ครู นักเรียน ตลอดจนความรวมมือจากชุมชน ดวยการสรางแรงบันดาลใจ โดยใชกระบวนการ
พัฒนาการบริหารสูคุณธรรมของโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ (WARIT MORAL MODEL)
2) วัตถุประสงค
2.1) เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและสงเสริมใหนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา มีความรู
และขยายผลสูเครือขายได
2.2) เพื่อใหโรงเรียน ผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง ชุมชนและผูมีสวนเกี่ยวของมีสวนรวม
ในการขับเคลื่อนกิจกรรมสงเสริมความดีในรูปแบบตางๆ
2.3) เพื่อพัฒนานวัตกรรมสรางคนดี และเผยแพรขยายเครือขายได
๓) เปาหมายในการดําเนินงาน กลุมเปาหมาย
3.1) เปาหมายเชิงปริมาณ
๓.๑.1) ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิจํานวน 80 คน
3.1.2) ผูเรียนมีคุณภาพสอดคลองกับคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 รอยละ 95
3.1.3) ผูปกครอง ชุมชนและผูมีสวนเกี่ยวของมีสวนรวมในการขับเคลื่อนการสรางและ
สงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาท รอยละ 95
3.2) เชิงคุณภาพ
3.2.1) ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ มีการจัดการศึกษา
เพื่อสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทอยางมีประสิทธิภาพ
3.2.2) ผูเรียนมีคุณภาพสอดคลองกับคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 สามารถดําเนินชีวิตได
อยางมีความสุข
๔
3.2.3) ผูปกครอง ชุมชนและผูมีสวนเกี่ยวของมีความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาเพื่อสงเสริม
ความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาท
๔) แนวคิดทฤษฎี
การสรางแรงบันดาลใจเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหผูนํารวมสมัยสามารถบริหารงานไดสําเร็จตาม
เปาหมาย เปนวิธีการที่ผูนําคาดการณเปาหมายในอนาคตขององคกรโดยกระตุนใหบุคลากรมีสวนรวมใน
การปฏิบัติภารกิจใหสําเร็จ กระตุนใหมีการตอบสนองอยางมีทิศทางและดําเนินไปสูเปาหมายตามที่ตองการ
ทาทายในเรื่องงานและกระตุนจิตวิญญาณของทีมใหมีชีวิตชีวา โดยการสรางเจตคติที่ดีและการคิดแงบวก
การสรางแรงบันดาลใจนับวามีความสําคัญตอการบริหารจัดการของผูนํา ชวยสงเสริมใหบุคลากรทํางานได
อยางมีประสิทธิภาพ เสริมสรางกําลังใจในการปฏิบัติงานใหแกบุคลากร เสริมสรางความสามัคคีทําใหเกิด
ความภักดีตอองคกร จูงใจใหเกิดการคิดสรางสรรค ทําใหบุคลากรเกิดศรัทธาและความเชื่อมั่นในองคกร
ดังนั้นผูนําจําเปนตองมีกลยุทธในการสรางแรงบันดาลใจ ทั้งกลยุทธการสรางแรงบันดาลใจในตนเอง
เพื่อเปนแบบอยางแกบุคลากร รวมทั้งกลยุทธการสรางแรงบันดาลใจแกบุคลากรเพื่อกระตุนใหบุคลากร
ทํางานอยางทุมเทเสียสละเกิดความรักและความผูกพันตอองคกรใหประสบผลสําเร็จตอไป (สมชาย
เทพแสง, คณิต สุขรัตน. กลยุทธในการสรางแรงบัลดาลใจของผูนํารวมสมัย, การประชุมสัมมนาการบริหาร
การศึกษาระดับชาติครั้งที่ 1 ,วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปที่ 16 ฉบับที่ 30
เดือนมกราคม - มิถุนายน 2562)