ชื่อเรื่อง รูปแบบการพัฒนาทักษะครูในศตวรรษที่ 21 ของครูโรงเรียน พุขามครุฑมณีอุทิศ สังกัดสำนักงานเขตพื ้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 40
ผู้วิจัย ฐิติพงษ์ ตรีศร
คำสำคัญ ทักษะครูในศตวรรษที่ 21, ครู
บทคัดย่อ
การวิจัยนี ้เป็ นงานวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาทักษะครู ในศตวรรษที่ 21 ของครูโรงเรียนพุขามครุฑมณีอุทิศ สังกัดส านักงานเขตพื ้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 40 มีวิธีการด าเนินงานแบ่งออกเป็ น 3 ขั ้นตอน คือ 1) สร้ างรูปแบบการพัฒนา ทักษะครูในศตวรรษที่ 21 ของครูโรงเรียนพุขามครุฑมณีอุทิศ สังกัดส านักงานเขตพื ้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 40 เป็ นการศึกษาองค์ประกอบทักษะครูในศตวรรษที่ 21 และแนวทางพัฒนา ทักษะครูในศตวรรษที่ 21 จากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ครูโรงเรียนพุขามครุฑมณี
อุทิศ สังกัดส านักงานเขตพื ้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เกี่ยวกับสภาพทักษะครูในศตวรรษที่ 21 และแนวทางพัฒนา แล้วสัมภาษณ์หัวหน้า/ผู้รับผิดชอบ และผู้เข้าร่วมพัฒนาจากโครงการ ต้นแบบการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21เกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 จ านวน 3 โครงการ และแนวทางการพัฒนาทักษะครูในศตวรรษที่ 21 ของครูแล้วสัมภาษณ์ จึง น ามายกร่าง และตรวจสอบรูปแบบ จากผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน 2) ทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาทักษะ ครูในศตวรรษที่ 21 ของครูโรงเรียนพุขามครุฑมณีอุทิศ สังกัดส านักงานเขตพื ้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 40เป็ นระยะเวลาประมาณ 2 เดือน และท าการประเมินผลการพัฒนาทักษะครูใน ศตวรรษที่21 ของครู3) การประเมินรูปแบบด าเนินการประเมินประสิทธิภาพ และผลกระทบของ การใช้รูปแบบหลังเสร็จสิ ้นในแต่ละโมดูลการพัฒนา และหลังสิ ้นสุดการทดลองใช้รูปแบบ
ผลการวิจัย พบว่า
1. รูปแบบการพัฒนาทักษะครูในศตวรรษที่ 21 ของครูเป็ นรูปแบบจ าลองที่แสดง ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ 4 ส่วน คือ 1) ทิศทางของรูปแบบ ประกอบด้วย หลักการและ เหตุผล วัตถุประสงค์ และแนวคิดและหลักการ 2) กระบวนการพัฒนา ตามวงจรพัฒนา ICP ที่แฝง อยู่ใน 3 โมดูลการพัฒนา 3) ผลลัพธ์ของรูปแบบ ประกอบด้วย ผลการพัฒนาทักษะครูในศตวรรษที่ 21 ของครู 4) ปัจจัยความส าเร็จ ประกอบด้วย ปัจจัยบุคคล ปัจจัยเอื ้อ/สนับสนุน ปัจจัยผลักดัน และปัจจัยจูงใจ
2. ครูโรงเรียนพุขามครุฑมณีอุทิศ สังกัดส านักงานเขตพื ้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 มีการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ทักษะการสื่อสาร ทักษะความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณ สอดคล้องกับผลการประเมินตนเอง ผลการสัมภาษณ์กลุ่ม และผลการท า โครงการพิเศษหลังการทดลองใช้รูปแบบ
3. ผลการประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการ ที่มีต่อผลลัพธ์ของรูปแบบ โมดูลที่ 1 ส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมคุณค่าของชีวิต โจนจันไดบุคคลที่เปลี่ยนแปลงตัวเอง เท้าชิด และการ นับต่อกัน โมดูลที่ 2 ส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรม Body Scan ภาพอนาคตของโรงเรียนที่ปรารถนา วางแผนศึกษาดูงาน และคันหัวใจปลงไม่ตก โมดูลที่ 3 ส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมปัญญาภายใน Share & Learn วัฒนธรรมองค์กร แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจิตศึกษา ผลการประเมินประสิทธิภาพ ของปัจจัยป้ อนของรูปแบบฯ พบว่า ส่วนใหญ่เป็ นผลมาจากการให้ความร่วมมือของผู้เข้าร่วม กระบวนกรมีความรู้ ความสามารถ และมีสิ่งอ านวยความสะดวกเหมาะสม ผลการประเมินผล กระทบจากการใช้ รูปแบบฯ พบว่า ทั ้ง 3 โมดูลส่งผลกระทบทางบวกต่อโรงเรียนเสริมสร้ าง สมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ประสานพลังความร่วมมือ สร้ างวัฒนธรรมการ ท างานที่ดี มีความรักผูกพันต่อโรงเรียนมากขึ ้น ผลกระทบทางบวกที่มีต่อผู้บริหาร ได้รับการพัฒนา ทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 เกิดความตระหนัก เห็นคุณค่า มุ่งมั่นต่ออุดมการณ์มีจิต วิญญาณต่อการพัฒนานักเรียน โดยใช้พลังความคิด และความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ ผลกระทบทางบวกครูมีทักษะความร่วมมือ การสื่อสาร ความคิดสร้ างสรรค์และการคิดอย่างมี วิจารณญาณ และผลกระทบทางบวกที่มีต่อนักเรียน ได้รับการพัฒนาด้านใน เรียนรู้ จากชุมชน ทางการเรียนรู้วิชาชีพ มีความสุข มีสติ สมาธิ เข้าใจตนเองและผู้อื่น มีความเป็ นผู้น าผู้ตามที่ดีวาง แผนการท างานเป็ นทีม และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21