บทคดัย่อ
การประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการโรงเรียน
ปลอดขยะของโรงเรียนวัดตโปทาราม ด้านบริบท ปัจจัยน าเข้า กระบวนการ ผลผลิต และผลกระทบ
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนวัดตโปทาราม ผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ได้แก่
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 10 คน ครูผู้รับผิดชอบโครงการ จ านวน 2 คน ครู
จ านวน 20 คน นักเรียน จ านวน 381 คน และผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดตโปทาราม จ านวน
150 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินพฤติกรรม แบบประเมิน
จิตพิสัย และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมินพบว่า
1. ผลการประเมินด้านบริบทของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.62, S.D. = 0.59)
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยน าเข้าของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.68, S.D. = 0.75)
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.62, S.D. = 0.71)
4. ผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.58, S.D. = 0.68)
5. การประเมินด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) พบว่า 1) นักเรียนมีพฤติกรรมการ
จัดการขยะอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.62, S.D. = 0.26)2) นักเรียนมีจิตส านึก มีความตระหนัก และ
เห็นคุณค่าของทรัพยากร ธรรมชาติและการจัดการขยะของนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
( ̅ = 4.69, S.D. = 0.70)และ 3) ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการด าเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) โรงเรียนวัดตโปทารามในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.55, S.D. =
0.59
ผลการวิจัย
ผลการประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) พบว่า
1. ผลการประเมินด้านบริบทของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียน
วัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.62, S.D. = 0.59)
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยน าเข้าของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.68, S.D. = 0.75)
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.62, S.D. = 0.71)
4. ผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทาราม ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.58, S.D. = 0.68)
5. การประเมินด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) พบว่า 1) นักเรียนมีพฤติกรรมการ
จัดการขยะอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.62, S.D. = 0.26)2) นักเรียนมีจิตส านึก มีความตระหนัก และ
เห็นคุณค่าของทรัพยากร ธรรมชาติและการจัดการขยะของนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
11
( ̅ = 4.69, S.D. = 0.70)และ 3) ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการด าเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) โรงเรียนวัดตโปทารามในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.55, S.D. =
0.59)
อภิปรายผล
จากผลการประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียนวัดตโปทารามในแต่ละด้าน ผู้วิจัย
ได้อภิปรายผลตามล าดับ ดังนี้
1. การประเมินด้านบริบท (Context Evaluation) พบว่า ผลการประเมินด้านบริบทของ
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนวัดตโปทารามในภาพรวมอยู่ในระดับ
มากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ส านักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ก าหนดนโยบายและ
แนวทางการปฏิบัติงานในสถานศึกษาทุกแห่ง ด าเนินงานในเรื่องการสร้างวินัยด้านการจัดการขยะ น ้าเสีย
มลพิษทางอากาศ ตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสิ่งแวดล้อมศึกษา โรงเรียนวัดตโปทาราม ได้จัดท า
โครงการสิ่งแวดล้อมศึกษา อีกทั้งสนใจเรื่องการแก้ปัญหาขยะ การจัดการขยะ และให้ความส าคัญในเรื่อง
ของสิ่งแวดล้อมศึกษา จึงมีนโยบายการด าเนินกิจกรรมด้านการัดการขยะขึ้นโดยจัดท าโครงการให้เป็น
แนวปฏิบัติสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของโรงเรียน ท าให้ผลการประเมินด้านบริบทอยู่
ในระดับมากที่สุด เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการผลการศึกษาของ สมศกัดิ์ศริหิลา้ (Sirila, 2018) ที่
ได้ศึกษาการประเมินโครงการธนาคารขยะของโรงเรียนเทศบาล พบว่า ผลการประเมินด้านบริบท
อยู่ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้ ธรรมชาติ มีรักษา (Meeraksa, 2019) ได้ท าการประเมินโครงการ
โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ของโรงเรียนบ้านคลองบางกกพบว่า ผลการประเมินด้าน
บริบทของโครงการผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ดวงใจ สวดมนต์ (Suadmon,
2020) ได้ประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School ) โครงการโรงเรียนปลอดขยะ
( Zero Waste School) โรงเรียนบ้านยางเหล่าสวนกล้วย ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
อุดรธานี เขต 3 ผลการประเมิน พบว่าผลการประเมินด้านบริบท พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก
2. การประเมินด้านปัจจัยน าเข้า (Input Evaluation) พบว่า ผลการประเมินด้านปัจจัยน าเข้า
ของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนวัดตโปทารามในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมากที่สุด ทั้งนี้เพราะโรงเรียนวัดตโปทารามได้พิจารณาความเหมาะสมของโครงการ จึงมีการ
วางแผนการปฏิบัติงาน มีการแต่งตั้งคณะท างานที่พิจารณาความเหมาะสม ความรู้ ความสามารถ
และมีประสบการณ์ ให้การสนับสนุนงบประมาณส าหรับด าเนินกิจกรรมอย่างเพียงพอ จัดวัสดุ
อุปกรณ์ในการด าเนินโครงการ จึงท าให้ผลการประเมินด้านปัจจัยน าเข้าอยู่ในระดับมากที่สุด เป็นไป
ในทิศทางเดียวกับการศึกษาของ ดวงใจ สวดมนต์ (Suadmon, 2020) ได้ประเมินโครงการโรงเรียน
ปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนบ้านยางเหล่าสวนกล้วย ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 พบว่าผลการประเมินด้านปัจจัยน าเข้า พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก
ที่สุด
12
3. การประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation)พบว่า ผลการประเมินด้าน
กระบวนการของโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนวัดตโปทารามในภาพ
รวมอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าโรงเรียนมีการปฏิบัติกิจกรรมเป็นไปตามปฏิทิน
ปฏิบัติงานตามแผนงาน มีการสรุปและรายงานผลการจัด มีการนิเทศ ก ากับ ติดตาม และประเมินผล
การด าเนินโครงการโดยการแต่งตั้งคณะกรรมการในการนิเทศ ก ากับ ติดตาม โดยให้ทุกฝ่ายได้เข้ามี
ส่วนร่วมในทุกกระบวนการ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ดวงใจ สวดมนต์ (Suadmon, 2020) ได้
ประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School ) โรงเรียนบ้านยางเหล่าสวนกล้วย
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 พบว่า การประเมินด้านกระบวนการ
พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
4. การประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) พบว่า ผลการประเมินด้านผลผลิตของ
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนวัดตโปทารามในภาพรวมอยู่ในระดับ
มากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า การด าเนินการโครงการท าให้นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจใน
การแยกขยะ หรือการจัดการขยะ สภาพแวดล้อมของโรงเรียนสะอาดปลอดขยะ และปริมาณขยะใน
โรงเรียนลดลง จึงท าให้ผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับการศึกษาวิจัยของ
ธรรมชาติ มีรักษา (Meeraksa, 2019) ได้ท าการประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste
School) ของโรงเรียนบ้านคลองบางกกพบว่าผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการผ่านเกณฑ์
การประเมิน นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ดวงใจ สวดมนต์(Suadmon, 2020) ได้
ประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนบ้านยางเหล่าสวนกล้วย
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 พบว่า ผลการประเมินด้านผลผลิตภาพ
รวมอยู่ในระดับมากที่สุด
5. การประเมินด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) พบว่า 5.1) นักเรียนมีพฤติกรรมการ
จัดการขยะอยู่ในระดับมากที่สุด นักเรียนมีจิตส านึก มีความตระหนัก และเห็นคุณค่าของทรัพยากร
ธรรมชาติและการจัดการขยะ ระดับมากที่สุด และผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อโครงการระดับมาก
สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ธรรมชาติ มีรักษา (2019) ได้ท าการประเมินโครงการโรงเรียนปลอด
ขยะ (Zero Waste School) ของโรงเรียนบ้านคลองบางกก พบว่า ในการประเมินผลกระทบที่
นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินจิตส านึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม และประเมินความพึง
พอใจของผู้ปกครองต่อโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ของโรงเรียนบ้านคลอง
บางกก พบว่า ภาพรวมผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับมาก
ข้อเสนอแนะ
1. ควรก าหนดแนวนโยบายในการเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมที่ดีในการรักษ์
สิ่งแวดล้อม โดยประสานความร่วมมือจากเครือข่ายผู้ปกครอง ในการเป็นแบบอย่างและแนวปฏิบัติที่
ดีให้กับนักเรียน
13
2. ควรมีการประเมินผลการด าเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
โรงเรียนวัดตโปทารามด้านความยั่งยืน
4. ควรจัดประชุมชี้แจงให้กับผู้รับผิดชอบทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติของโรงเรียนเพื่อ
สร้างความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ วิธีการขั้นตอนและกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ แลกเปลี่ยน
ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา
5. น าผลการประเมินไปใช้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับแนวทางการ
ด าเนินงาน ด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา