บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ีมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานองค์ประกอบหลักและความต้องการจำเป็นของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รายวิชาสังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเดื่อวิทยาคม 2. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รายวิชาสังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเดื่อวิทยาคม 3. เพื่อขยายผลการใช้และประเมินผลการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รายวิชาสังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเดื่อวิทยาคม ซึ่งใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียวสอบก่อนหลัง (One Group Pretest Posttest Design) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 27 คน โรงเรียนบ้านเดื่อวิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยรูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการออกแบบโดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ สำหรับบนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งสร้างคู่มือการใช้รูปแบบการเรียนการสอน ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ 2. แบบทดสอบชุดกิจกรรม เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ 3. แบบวัดผลการเรียนรู้แบบประเมินความสามารถ โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการใช้รูปแบบการเรียนการสอน และ 5. แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) แบบไม่อิสระและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) มี 5 ขั้นตอน คือ
1. การสร้างความสนใจ (Engagement) 2. การสํารวจและค้นหา (Exploration) 3. การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4. การขยายความรู้ (Elaboration) และ 5. การประเมินผล (Evaluation)
2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รายวิชาสังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเดื่อวิทยาคม มีคะแนนผลการเรียนรู้เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ สูงขึ้นกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มีพัฒนาการด้านความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องอยู่ในระดับสูง มีแบบประเมินความพึงพอใจ ก่อนและหลังการทดลองใช้ รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจ ต่อการใช้รูปแบบชุดกิจกรรม เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด
3. ผลจากการขยายผลการใช้และประเมินผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รายวิชาสังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเดื่อวิทยาคม มีคะแนนผลการเรียนรู้ เรื่องการออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ความสามารถ เรื่องการออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) มีพัฒนาการสูงขึ้น ในช่วงเวลาหลังเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด และ ความพึงพอใจ ต่อการใช้รูปแบบชุดกิจกรรม เรื่อง การออมและการลงทุนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลยภาพ เรียนรู้ก่อนและหลังเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05
Title : Development of a competency-based learning management model on
savings and investment according to the philosophy of sufficiency economy
for a balanced life by using the quest for knowledge teaching method (5Es)
in the social studies course For students in Mathayomsuksa 2
at Ban Dua Wittayakom School.
Assessor : Mrs. Kanyakorn Srihapol
Educational institution : Banduawittayakom School Kaset Sombun District Chaiyaphum
Year : 2020
Abstract
The objectives of this research were 1. to study the basic information, main components and the necessity of the competency-based learning management model on savings and investment according to the principles of sufficiency economy for a balanced life. by using the quest for knowledge (5Es) in the social studies course. For students in grade 2 2. To study the effectiveness of the competency-based learning management model on saving and investing according to the principles of sufficiency economy for a balanced life. by using the quest for knowledge (5Es) in the social studies course. For students in grade 2 3. . To expand the use effect and evaluate the use A model of competency-based learning management on savings and investment according to the principles of sufficiency economy for a balanced life. by using the quest for knowledge (5Es) in the social studies course. For Mathayomsuksa 2 students who use the (One Group Pretest Posttest Design) The sample group consisted of was 27 fourth Ban Dua Wittayakhom School Under the Chaiyaphum Provincial Administrative Organization, the second semester of the academic year 2020. Research instruments. consists of teaching style To promote design competency by using research-based teaching For students in Mathayom 2 who created a manual to use the teaching style. Including: 1. Plans for learning management Savings and investments according to the principles of sufficiency economy for a balanced lifestyle competency assessment form by using a search-for-knowledge teaching 4. The satisfaction assessment form of Mathayom Suksa 2 students towards the use of the teaching and learning model and 5. The satisfaction questionnaire. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation. Independent t-test and content analysis.
The results of the research found that:
1. Competency-based learning management model on saving and investing according to the principles of sufficiency economy for a balanced life By using the quest for knowledge (5Es) teaching, there are 5 steps: 1. Engagement 2. Survey and search. (Exploration) 3. Explanation and conclusion (Explanation) 4. Expansion of knowledge (Elaboration) and 5.Evaluation (Evaluation)
2. The results of the experiment on using a competency-based learning management model on saving and investing according to the principles of sufficiency economy for a balanced life. By using the quest for knowledge teaching (5Es), it was found that Mathayomsuksa 2 students had scores on learning outcomes. Saving and investing according to the principles of sufficiency economy for a balanced lifestyle higher than before with statistical significance at the .05 level. Savings and investments according to the principles of sufficiency economy for a balanced life Has developed the ability to organize teaching activities by using a search-for-knowledge teaching continued to increase at a high level There is a satisfaction assessment form. Before and after the trial The developed teaching and learning styles differed statistically at the .05 level. and satisfied towards the use of a series of activities on saving and investing in accordance with the principles of sufficiency economy for a balanced life at the highest level.
3. The results of the expansion of the use and evaluation of the use of a competency-based learning management model on saving and investment according to the principles of sufficiency economy for a balanced life found that Mathayomsuksa 2 students have a learning outcome score on saving and investing according to the principles of sufficiency economy for a balanced life by using a quest for knowledge (5Es) teaching after higher education before learning with a statistically significant level at the .05 level the ability to save and invest according to the principles of sufficiency economy for a balanced life By using the quest for knowledge (5Es) teaching, there was a higher development. in the period after school At the highest level and satisfaction with the use of a series of activities on savings and investment according to the principles of sufficiency economy for a balanced life. Learn before and after classes are different. statistically significant at the .05 level.