ชื่อผลงาน โครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ
นักเรียนโรงเรียนสีวะรา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี
เขต 1
ชื่อผู้ประเมิน นายชวาลวิท บุสาโรง
ปีที่ทาการประเมิน 2564
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของนักเรียนโรงเรียนสีวะรา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ได้กาหนด
วัตถุประสงค์ไว้ดังนี้ 1) เพื่อประเมินบริบท (Context evaluation : C) ของโครงการพัฒนาทักษะชีวิต
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนสีวะรา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 2) เพื่อประเมินปัจจัยนาเข้า (Input evaluation : I) ของโครงการพัฒนา
ทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนสีวะรา สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 3) เพื่อประเมินกระบวนการ (Process evaluation : P) ของ
โครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนสีวะรา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 และ4) เพื่อประเมินผลผลิต (Product
evaluation : P) ของโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียน
โรงเรียนสีวะรา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดยใช้รูปแบบการประเมิน
โครงการแบบซิปป์ (CIPP Model) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมิน ครั้งนี้ คณะครู จานวน 5 คน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 7 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ถึง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 35 คน และผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ถึง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 35 คน เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถาม และการเก็บรวบรวม
เอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง ทาการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ย (  ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS for Window
ผลการประเมินโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของนักเรียนโรงเรียนสีวะรา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 สรุปได้ดังนี้
1. ด้านบริบทของโครงการ
1.1 ความคิดเห็นของคณะครู ต่อผลการดาเนินการด้านบริบทของโครงการ อยู่ใน
ระดับมาก ( =4.23) พบว่า โครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ
นักเรียนโรงเรียนสีวะรา มีวัตถุประสงค์ชัดเจน ( =4.46) โครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง มีความเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการในปัจจุบัน( =4.46) และ
โครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกิดจากความต้องการของบุคลากร
ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน ( =4.46) เท่ากัน อยู่ในลาดับสูงสุด และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด
ได้แก่ วัตถุประสงค์ของโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียน
โรงเรียนสีวะรา สามารถนาไปปฏิบัติได้ ( =3.93)
1.2 ความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ที่สุด (  =4.53) พบว่า โครงการพัฒนาทักษะชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้อง
กับนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (  =4.66) กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนโรงเรียนสีวะรา สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการ (  =4.66) และโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็น
โครงการที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม (  =4.66) เท่ากัน อยู่ในลาดับสูงสุด และ
ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ วัตถุประสงค์ของโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนโรงเรียนสีวะรา สามารถนาไปปฏิบัติได้ (  =4.33)
2. ด้านปัจจัยนาเข้า จากความคิดเห็นของคณะครู มีความคิดเห็นต่อผลการดาเนินการใน
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.20) พบว่า มีแผนการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (  =4.53) อยู่ในลาดับสูงสุด รองลงมาได้แก่ การจัดสรร
งบประมาณสาหรับการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความเหมาะสม
( =4.40) และการจัดสรรงบประมาณสาหรับการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มีความเหมาะสม ( =4.40) เท่ากัน และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ เครื่องมือ อุปกรณ์
มีจานวนเพียงพอสาหรับสนับสนุน การจัดกิจกรรม ( =3.80) ซึ่งสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินที่
กาหนดไว้
3. ด้านกระบวนการดาเนินงาน จากความคิดเห็นของคณะครู เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
( =4.32) พบว่า การประเมินการดาเนินกิจกรรมตามโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง อย่างต่อเนื่อง( =4.60) อยู่ในลาดับสูงสุด รองลงมาได้แก่ มีการประชุมชี้แจ้งให้
นักเรียน ให้ทราบเกี่ยวกับโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
( =4.53) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ การดาเนินกิจกรรมการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแผนที่กาหนด(  =4.06) และมีการกากับ ติดตาม การดาเนิน
กิจกรรมตามโครงการพัฒนาทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( =4.06) เท่ากัน
ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
4. ด้านผลผลิต
4.1 ความคิดเห็นของคณะครู เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (μ=4.20) พบว่า นักเรียนมีความรู้
เกี่ยวกับแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (μ=4.48) อยู่ในลาดับสูงสุด รองลงมาได้แก่ นักเรียน
นาผลผลิตมาสนับสนุนโครงการอื่นๆ เช่น โครงการอาหารกลางวัน โครงการหารายได้ระหว่างเรียน
(μ=4.45) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ
ในอนาคตได้ (μ=3.85) และนักเรียนดารงชีวิตโดยยึดหลักความพอเพียง (μ=3.85) เท่ากัน ซึ่งเป็นไป
ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
4.2 ความคิดเห็นของนักเรียน เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (  =4.23) พบว่า นักเรียนนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต (  =4.60) อยู่ในลาดับสูงสุด
รองลงมาได้แก่ นักเรียนนาแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
(  =4.42) และนักเรียนนาผลผลิตที่ได้มา บริโภคเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน (  =4.41) และ
ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ นักเรียนปฏิบัติตนตามหลักธรรม มีคุณธรรมจริยธรรม (  =3.92)
และนักเรียนสามารถวางแผน ในการทางานเกี่ยวกับการเกษตร (  =3.92) เท่ากัน ซึ่งเป็นไปตาม
เกณฑ์การประเมินที่กาหนด
4.3 ความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (  =4.20) พบว่า
นักเรียนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต (  =4.60) อยู่ในลาดับ
สูงสุด รองลงมาได้แก่ โรงเรียนมีการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการจัดการโครงการ
เศรษฐกิจพอเพียง (  =4.46) และนักเรียนนาผลผลิตมาสนับสนุนโครงการอื่นๆ เช่น โครงการอาหาร
กลางวัน โครงการหารายได้ระหว่างเรียน (  =4.42) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ นักเรียน
วางแผนการทางานอย่างมีเหตุผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (  =3.68) ซึ่งเป็นไปตาม
เกณฑ์การประเมินที่กาหนด