ชื่อ การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1
ผู้เสนอผลงาน นายเสริม เถรี
โรงเรียน นามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1
ปีที่พิมพ์ 2563
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1ครั้งนี้ ผู้ประเมินดำเนินการประเมินโดยใช้รูปแบบจำลอง CIPP Model มีความมุ่งหมายเพื่อ1) ประเมินสภาวะแวดล้อม(Context evaluation)เกี่ยวกับ ความพร้อม ความเหมาะสมของสถานศึกษา ความต้องการ ความเป็นประโยชน์ ความสอดคล้องกับกฎหมาย นโยบายและสนองความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 2) เพื่อประเมินปัจจัยนำเข้า (Input evaluation) เกี่ยวกับทรัพยากรบุคคล งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์และการบริหารงาน มีความพอเพียง เหมาะสมกับการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 3) เพื่อประเมินกระบวนการ ( Process evaluation) เกี่ยวกับขั้นตอนการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์โครงการสอดคล้อง กับเป้าหมาย มีการวางแผน การดำเนินงาน การกำกับติดตาม และประเมินผลของโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1และ 4) เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการ ในด้าน 4.1) พฤติกรรมการอ่านและผลการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 และ 4.2) ความพึงพอใจของครูและนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1กลุ่ม ประชากรและกลุ่มตัวอย่างจำนวน 254 คนได้แก่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 9 คน ครูจำนวน 15 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที 3 จำนวน 115 คน และผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที 3 ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า(Rating Scale) จำนวน 5 ฉบับเพื่อประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1ทั้ง 4 ด้าน คือด้านสภาวะแวดล้อม ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และประเมินผลการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที 3 และประเภทที่ 2 แบบสอบถาม เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของครูและนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมินพบว่า
1.การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (μ= 4.25,σ= 0.62) เรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกคือด้านผลผลิต (μ= 4.50,σ= 0.61) ด้านกระบวนการ (μ= 4.48,σ= 0.67) และด้านปัจจัยนำเข้า (μ= 4.34 σ= 0.60)
2. ด้านสภาวะแวดล้อมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (μ= 4.25,σ= 0.32) เรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกคือวัตถุประสงค์ของโครงการฯมีความชัดเจนเป็นรูปธรรมสามารถนําไปปฏิบัติได้จริง (μ= 4.85,σ= 0.41) วัตถุประสงค์ของโครงการฯมีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและชุมชน(μ= 4.50,σ= 0.84) วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการมีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมรักการอ่าน ( μ= 4.49,σ= 0.64)
3.การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงาน เขต 1 พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 ด้านปัจจัยนำเข้าโดยรวมอยู่ในระดับมาก (μ= 4.34,σ= 0.60) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดเรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากน้อยไปหามาก 3 อันดับแรกคือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงาน/โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน(μ= 4.67,σ= 0.52) มีการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการอ่าน (μ= 4.67,σ= 0.52) สถานที่สำหรับใช้ปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการและมีแผนงาน/โครงการที่ชัดเจน (μ= 4.53,σ= 0.55)
4.การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนัก งานเขต 1 พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 ด้านกระบวนการ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก (μ= 4.48,σ= 0.67) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด เรียงอันดับค่าเฉลี่ยจาก มากไปหาน้อย 3 อันดับแรกคือ มีการประสานงานระหว่างครูกับผู้ปกครองนักเรียนในการทำแบบบันทึกการอ่านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (μ= 4.70,σ= 0.55) มีการส่งเสริมให้ครูและบุคลากร,นักเรียนได้รวบรวมองค์ความรู้ที่ได้จากการอ่านและจัดทำรายงาน (μ= 4.69,σ= 0.61)และ มีการสร้างแรงจูงใจ สนับสนุนให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน.(μ= 4.60,σ= 0.59)
5.การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัด สำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 ด้านผลผลิต พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก (μ= 4.50,σ= 0.60) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดเรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกคือ อ่านเป็นจับประเด็นได้ (μ= 4.53,σ= 0.58) ผลการดำเนินกิจกรรมทำให้นักเรียนอ่านออกเสียง และจับใจความได้ดีขึ้น นักเรียนสามารถวิเคราะห์เรื่องจากการอ่านอย่างถูกต้องและนักเรียนสามารถจับประเด็นเรื่องราวที่ได้จากการอ่านได้อย่างถูกต้อง กิจกรรมยอดรัก นักอ่าน(μ= 4.51,σ= 0.59) ผลการดำเนินกิจกรรมทำให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านมากขึ้น นักเรียนชอบเข้าห้องสุมดบ่อยขึ้น นักเรียนอ่านหนังสือได้ถูกต้องมากขึ้นและที่คั่นหนังสือสื่อความรู้ (μ= 4.51,σ= 0.65) ผลการดำเนินกิจกรรมทำให้นักเรียนสามารถนำคำคมที่นักเรียนอ่านแล้วประทับใจนำมาเขียนลงในที่คั่นหนังสือได้ นักเรียนสามารถอ่านคำหรือประโยคที่อยู่ในที่คั่นหนังสือได้และนักเรียนสามารถบอกความหมายของคำหรือประโยคในที่คั่นหนังสือได้
6. ความพึงพอใจของครูและนักเรียนฯ พบว่า ครูและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 มีความพึงพอใจต่อมีต่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านตามโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (μ= 4.52,σ= 0.64) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมาก ถึงมากที่สุดเรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกคือการจัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและรายบุคคล(μ= 4.53,σ= 0.61) กิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนมีการจดบันทึกข้อความหรือเนื้อเรื่องที่น่าสนใจจากการอ่านโดยเริ่มจากการบันทึกด้วยข้อความสั้น ๆ แล้วเพิ่มความยาวของเนื้อหาขึ้นไปตามลำดับ (μ= 4.53,σ= 0.62) และการจัดกิจกรรมส่งเสริม รักการอ่านให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและรายบุคคล(μ= 4.53,σ= 0.64)
7.การประเมินผลการอ่านนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน นามลวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 มีผลการอ่าน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (μ= 4.51,σ= 0.60) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากถึง มากที่สุดเรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกคือ มีการแลกเปลี่ยนหนังสืออ่าน กับเพื่อนเสมอ (μ= 4.55,σ= 0.65) เข้าใจในเรื่องที่อ่าน (μ= 4.54,σ= 0.51) และเห็นคุณค่า ของการอ่าน (μ= 4.53,σ= 0.51)
Abstract
The Evaluation of the Project on Promoting Reading Habits of Namol Wittayakarn School under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area
This research was studied by using CIPP Model and the objectives of this research were: 1) to evaluate the context of the readiness, appropriation, requirement, usefulness, agreement of law, the policy and students, parents, and community from all the participants in the process of the project on promoting reading habits 2) to evaluate input of human resources, budget, materials and management of the project reading habits 3) to evaluate the agreement of process of the project on promoting reading habits and the planning, following up and evaluation the result of the project reading habits 4) to evaluate the output of the project on promoting reading habits in two aspects: 4.1) Prathomsuksa 3 to Mattayomsuksa students reading behavior and the reading result of 3 students. 4.2) Students and teachers satisfaction with the project on promoting reading habits. The sample of this research was 254 participants including with; 9 the committee of basic educational school, 15 teachers, 115 Prathomsuksa 3 to Mattayomsuksa Students, and the parents these students. It is using Purposive Sampling. The tools used to collect data were 1)five rating scales using for evaluating the project on promoting based on CIPP Model, consisted of 4 aspects: context, input, process, and output and result of reading evaluation of Prathomsuksa 3 to Mattayomsuksa students. 2) The questionnaire used to evaluate the teachers and students satisfaction with the project on promoting reading habits. The data was analyzed by using percentage, mean and standard deviation.
The Result of Evaluation
1. The overall of evaluation of the project on promoting reading habits of Namol Wittayakarn School under the office of Kalasin Primary Educational Service area 1 were at high level (μ= 4.25,σ= 0.62) by sorted mean from high to low as follows. The highest aspect was the output (μ= 4.50,σ= 0.61). The second aspect was the process (μ= 4.48,σ= 0.67) and the least aspect is input(μ= 4.34 σ= 0.60)
2. The overall of context of the evaluation of project on promoting reading habits of Namol Wittayakarn School under the office of Kalasin Primary Educational Service Area 1 were at high level (μ= 4.25,σ= 0.32) by sorted mean from high to low as follows. The highest objective of the project was clear and it was practical (μ= 4.85,σ= 0.41). The objective of the project was relevant to the school and community environment (μ= 4.50,σ= 0.84). The least objective and the aims of the project was relevant to the appropriate environment for promoting reading habits operation (μ= 4.49,σ= 0.64).
3. The overall of input of the evaluation project on promoting reading habits of Namol Wittayakarn School under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 1 were at high level (μ= 4.34,σ= 0.60). The consideration revealed that the highest input was the participants of the project by planning and operating the activities for promoting students reading habits (μ= 4.67,σ= 0.52). The operating of suitable environment and atmosphere for reading (μ= 4.67,σ= 0.52). The location for operating the activities of the project and there was obvious project plan (μ= 4.53, σ= 0.55).
4. The overall of process of the evaluation of project of promoting reading habits of Namol Wittayakarn School under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 1 were at high level (μ= 4.48,σ= 0.67) by sorted mean from high to low as follows. The highest level was co-operation between teachers and parents in reading record regularly (μ= 4.70,σ= 0.55). There was the support of teachers and students compile explicit knowledge from reading and operating report (μ= 4.69, σ= 0.61). There was influence and motivation on students reading habit (μ= 4.60, σ= 0.59).
5. The overall of process of the evaluation of project of promoting reading habits of Namol Wittayakarn School under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 1 were at high level (μ= 4.50,σ= 0.60) by sorted mean from high to low as follows. The highest level was capture reading (μ= 4.53,σ= 0.58). The results were: students were able to get better on reading aloud and getting main idea. The students were able to analyze the story correctly and capture from the story correctly (μ= 4.51,σ= 0.59). The result of operating the passion of reading promoted the students get more passionate on reading. The students come to the library more often and they were able to read correctly. Bookmark (μ= 4.51,σ= 0.65). The result of operating this activity can promote the students can pick the favorite motto to write down on the bookmark. The students were able to read the motto that written on the bookmark and tell the meaning.
6. The Prathomsuksa 3 to Mattayomsuksa 3 students and teachers satisfaction of Namol Wittayakarn School under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 1 revealed the results were at high level. The students and teachers satisfied with the operating of promoting the activities for reading (μ= 4.52,σ= 0.64) by sorted mean from highest to high as follows. The operating of promoting students reading can lead the students worked with their classmates and work individually (μ= 4.53,σ= 0.61). The activities that promoted the students took note the interesting sentence from the story with the short words or short sentences and literally increase the length of the words or sentences (μ= 4.53,σ= 0.62). And the promoting students reading habit activities worked in group and individual. (μ= 4.53,σ= 0.64)
7. The Prathomsuksa 3 to Mattayomsuksa 3 students and teachers reading result of Namol Wittayakarn School under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 1 revealed the results were at the highest level (μ= 4.51,σ= 0.60) by sorted mean from highest to high as follows. The students always exchanged the books with their friends (μ= 4.55,σ= 0.65). The students were able to understand the stories (μ= 4.54,σ= 0.51). And the students realized the value of reading (μ= 4.53,σ= 0.51).