ชื่อเรื่อง : การประเมินโครงการพัฒนากลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ
ชื่อผู้ประเมิน : นายรังสรรค์ ยังน้อย
ปี ที่ประเมิน : ปี การศึกษา 2562 -2563
บทคัดย่อ
การประเมินครั้งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ประเมินด้านบริบทของโครงการพัฒนากลุ่มภาคี
เครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก
สมุทรปราการ
2) ประเมินด้านปัจจัยน าเข้าที่ใช้ในการด าเนินโครงการพัฒนากลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไข
ปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ
3) ประเมิน
ด้านกระบวนการด าเนินโครงการพัฒนากลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียน
นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการและ
4) ประเมินด้านผลผลิตของโครงการพัฒนา
กลุ่มภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก
สมุทรปราการ ดังนี ้
4.1) จ านวนการเกิดเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษา หลังจากด าเนินโครงการ
4.2) จ านวนผู้เรียนของวิทยาลัยในปี การศึกษา 2564 หลังจากด าเนินโครงการ
4.3) ความพึงพอใจของ
บุคลากรวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ
4.4) ความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยงปัญหาการ
ทะเลาะวิวาท) ที่มีต่อกิจกรรมภายใต้โครงการ
4.5) ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนนักศึกษา (กลุ่ม
เสี่ยงปัญหาการทะเลาะวิวาท) ที่มีต่อโครงการ
4.6) ความพึงพอใจของผู้อ านวยการ และครูแนะแนว
โรงเรียนเครือข่ายความร่วมมือของวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ และ
4.7) ความพึงพอใจของคณะท างาน
กลุ่มภาคีเครือข่าย ที่มีต่อโครงการ โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินแบบซิปโมเดล (CIPP Model) ของ
สตัฟเฟิลบีม ประชากร ได้แก่ 1) บุคลากรวิทยาลัย จำนวน 73 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และ
บุคลากรทางการศึกษา 2) คณะท างานกลุ่มภาคีเครือข่าย จ านวน 23 คน 3) นักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยง
ปัญหาการทะเลาะวิวาท)ของวิทยาลัย จ านวน 87 คน และ 4) ผู้ปกครองนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยง
ด้านปัญหาการทะเลาะวิวาท) ของวิทยาลัย จ านวน 87 คน และ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่1) ข้าราชการต ารวจ
ผู้อ านวยการสถานศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความ
ประพฤตินักเรียนและนักศึกษา รวมจ านวน 30 คน และ 2) ผู้อ านวยการ และครูแนะแนวโรงเรียน
เครือข่ายความร่วมมือของวิทยาลัย จ านวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ นแบบ
บันทึกข้อมูลปัญหาการทะเลาะวิวาท จ านวน 1 ฉบับ แบบบันทึกข้อมูลจ านวนนักเรียนนักศึกษา จ านวน
1 ฉบับ และแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5ระดับ จ านวน 8 ฉบับ รวมจ านวน 10 ฉบับ สถิติที่
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการประเมินพบว่า
1. ผลการประเมินโครงการด้านบริบท โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยน าเข้า โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผ่าน
เกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผ่าน
เกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
4. ผลการประเมินด้านผลผลิต
4.1 ผลการประเมินจ านวนการเกิดเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษาของ
วิทยาลัย พบว่า ในปี การศึกษา 2563 มีจ านวนลดลงคิดเป็นร้อยละ 83 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4.2 ผลการประเมินจ านวนนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัย พบว่า ในปี การศึกษา
2564 มีจ านวนนักเรียนนักศึกษาเพิ่มขึ ้น คิดเป็นร้อยละ 35.80 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4.3 ผลผลิตด้านความพึงพอใจของบุคลากรวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ พบว่า โดย
ภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
4.4 ผลผลิตด้านความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยงปัญหาการทะเลาะ
วิวาท)ของวิทยาลัย ที่มีต่อกิจกรรมหลัก จ านวน 3 กิจกรรม ภายใต้โครงการ โดยภาพรวมมีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกกิจกรรม
4.5 ผลผลิตด้านความพึงพอใจ ของผู้ปกครองนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยงปัญหา
การทะเลาะวิวาท) ของวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
4.6 ผลผลิตด้านความพึงพอใจของผู้อ านวยการ และครูแนะแนวโรงเรียนเครือข่าย
ความร่วมมือของวิทยาลัย ที่มีต่อโครงการ โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่าน
เกณฑ์การประเมินที่ก าหนดไว้ทุกข้อ
4.7 ผลผลิตด้านความพึงพอใจ ของคณะท างานกลุ่มภาคีเครือข่าย ที่มีต่อโครงการ
โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ก าหนด