บทคัดย่อ
การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เป็นการวิจัยและพัฒนา
(Research and Development: R&D) โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาและ
วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
เทศบาล 1 บ้านชะอ า (ชะอ าวิทยาคาร) 2) เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้
Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และ
4) เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 1 บ้านชะอ า (ชะอ าวิทยาคาร) ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2564 จ านวน 1 ห้องเรียน ห้อง 2/2 มีผู้เรียน 24 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม
(Cluster Random Sampling) ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ รูปแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ความสามารถทางทักษะ
การอ่าน และเขียนสะกดค าภาษาไทย และ ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ใช้ระยะใน
การทดลองสอนด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งสิ้น 18 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ 1) รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้2) แผนการจัดการเรียนรู้3) แบบทดสอบวัดความสามารถ
การอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียนภาษาไทย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ และ 4)
แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จ านวน 30 ข้อ
(ข)
ส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย (
Χ
) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าทีแบบ
กลุ่มตัวอย่างไม่อิสระ ค่าดัชนีประสิทธิผล และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis)
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย นักเรียน
ชั้นป ระถมศึกษ าปีที่ 2 นักเรียนชั้นป ระถมศึกษ าปีที่ 2 โรงเรียนเทศบ าล 1 บ้ านชะอ า
(ชะอ าวิทยาคาร) สาเหตุของปัญหาการอ่าน และเขียนภาษาไทย จากการสนทนากลุ่ม พบว่า มีสาเหตุ
มาจาก 3 ประการคือ ประการแรก คือ การจัดการเรียน การจัดกิจกรรม ขาดการสร้างบรรยากาศใน
การกระตุ้นให้นักเรียนมีทักษะการอ่าน และการเขียนภาษาไทย ขาดเทคนิคการสอนอ่าน และการ
สอนเขียนที่ท าให้นักเรียนสามารถอ่าน และเขียนภาษาไทย ประการที่สอง ด้านสื่อประกอบการสอน
ภาษาไทย พบว่า สื่อการสอนที่ใช้เทคโนโลยีร่วมกับการสอนและการท ากิจกรรมนั้นไม่มีการใช้
เทคโนโลยีร่วม ท าให้การออกแบบการจัดการเรียนรู้ของครูไม่สามารถเชื่อมโยงกับสื่อการสอนที่
ทันสมัย ท าให้นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประการสุดท้าย พบว่า
นักเรียนอ่านและเขียนค าไม่ถูกต้อง ไม่เข้าใจความหมายของค า ขาดความสนใจในการเรียนรู้
ภาษาไทย ท าให้เกิดความต้องการในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสอนวิชา
ภาษาไทย และจากการสัมภาษณ์ครูสอนวิชาภาษาไทย พบว่า ครูมีความจ าเป็นและมีความต้องการ
ด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในทักษะการคิด เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิชาภาษาไทยที่เน้น
ให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามความคิดและการปฏิบัติด้วยตนเอง จากความต้องการดังกล่าวจึงท าให้เกิด
พัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนสะกด
ค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
2. ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
2.1 ได้รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีองค์ประกอบประกอบด้วย
องค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ คือองค์ประกอบด้านหลักการและวัตถุประสงค์องค์ประกอบด้าน
กระบวนการและองค์ประกอบด้านเงื่อนไข และได้กระบวนการขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
8 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นส ารวจ (survey = s) 2) ขั้นท าความเข้าใจ (understand = u) 3) ขั้นสอน
(pedagogy = p) 4) ขั้นมุ่งมั่นปฏิบัติ (intend = i) 5) ขั้นฝึกทักษะ (skill = s) 6) ขั้นประยุกต์ใช้
(apply = a) 7) ขั้นปรับปรุง (revamp = r) และ 8) ขั้นประเมินผล (assess = a)
(ค)
2.2 ผลการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการ
อ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพ
80/80 พบว่า ผลการทดลองแบบรายบุคคล มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 90.56/85.56 ผลการทดลอง
แบบกลุ่มเล็ก มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 89.72/72.78 และผลการทดลองแบบภาคสนาม
มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 90.88/84.44 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะ
การอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
3.1 ประสิทธิภาพของรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จากการ
ทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 85.10/83.89 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้
3.2 ดัชนีประสิทธิผลของรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเท่ากับ
0.68ซึ่งหมายความว่านักเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara
Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 2 มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น 0.68 หรือคิดเป็นร้อยละ 68.00
4. ผลการประเมินผลการใช้รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Supisara Model เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
4.1 คะแนนเฉลี่ยของความสามารถทางการอ่าน และเขียนสะกดค าภาษาไทย
ก่อนเรียนมีคะแนนเท่ากับ 14.67 คะแนน และมีคะแนนหลังเรียนเท่ากับ 25.17 คะแนน
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนสอบทั้งสองครั้ง พบว่า คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนหลังเรียน
สูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4.2 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้
Supisara Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดค าภาษาไทย ส าหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาพรวมอยู่ในระดับมาก