แบบสังเกต
การจัดประสบการณ์ทางการเรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะเสริมประสบการณ์
ชุด เรียนรู้กับเรื่องรอบตัว สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2
..
คำชี้แจง
แบบสังเกตฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการจัดประสบการณ์ทางการเรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาความพร้อมของเด็กปฐมวัย ชุด เรียนรู้กับเรื่องรอบตัว ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยครูเป็นผู้สังเกตและทำเครื่องหมาย P ที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุดเพียงข้อละ 1 ระดับ โดยแต่ละระดับ มีความหมายดังนี้
ทำได้ หมายถึง สามารถทำกิจกรรมได้
ทำไม่ได้ หมายถึง ไม่สามารถทำกิจกรรมได้
ตัวอย่าง
ข้อ
ข้อความ ระดับความพึงพอใจ
ทำได้ ทำไม่ได้
0. การพูดชักชวนเพื่อทำกิจกรรม P
คำอธิบาย จากข้อ 0 ผู้ตอบทำเครื่องหมาย P ลงในช่องระดับ ทำไม่ได้ ซึ่งเป็นช่องระดับความที่นักเรียนทำไม่ได้ในช่องพฤติกรรมการพูดชักชวนเพื่อทำกิจกรรม
การจัดประสบการณ์ทางการเรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะเสริมประสบการณ์
ชุด เรียนรู้กับเรื่องรอบตัว สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2
(ก่อนการจัดประสบการณ์)
............................................................................
ชื่อนักเรียน.............................................นามสกุล...............................................................................
แบบฝึกทักษะเสริมประสบการณ์ ชุด เรียนรู้กับเรื่องรอบตัว เล่มที่ ..................................
รายการสังเกต 1 0 หมายเหตุ
ทำได้ ทำไม่ได้
1. เด็กให้กำลังใจเพื่อนในการทำกิจกรรม
2. เด็กช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม
3. เด็กได้แสดงออกอย่างอิสระและเรียนรู้อย่างมีความสุข
4. การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการอภิปราย
5. พูดชักชวนให้เพื่อนทำกิจกรรมที่ตนเองทำได้
6. การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
7. ตั้งใจและสนใจในการทำกิจกรรมแบบฝึกทักษะเสริมประสบการณ์
8. การตอบคำถาม
9. ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
10. ฟังครูอธิบายอย่างตั้งใจและเข้าใจ
11. ร่วมกันคิดเพื่อให้ทำกิจกรรมประสบผลสำเร็จ
12. รู้จักเก็บอุปกรณ์เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
ข้อสังเกตเพิ่มเติม.............................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................