ผู้วิจัย นายธนาดุล โฉมนิธิตานนท์
ปีการศึกษา 2563
สถานศึกษา โรงเรียนมัธยมชัยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ
บทคัดย่อ
การวจัยครั้งนี้เป็นการพฒนารูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชย มงคลรังงาม สงกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภมิ มีวตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพอศึกษาความต้องการ ในการพฒนารูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชัยภมิ 2) เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของ โรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภมิ 3) เพอทดลองใชรูปแบบการ นิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สังกดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภ มิ
4) เพอประเมินรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สงกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองใชรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของ โรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สงกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชยภมิ ได้แก่ ผู้บริหาร ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ 1 คน ผู้ชวยผู้อำนวยการ 2 คน และครูผู้สอน จำนวน 16 คน รวมทั้งหมด 19 คน ปีการศึกษา 2563 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวจัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความต้องการในการพฒนารูปแบบการนิเทศภายใน 2) แบบประเมิน ความ สอดคล้องเหมาะสมของรูปแบบการนิเทศภายใน 3) แบบสอบถามการดำเนินงานตามรูปแบบ การนิเทศภายใน และ 4) แบบประเมินรูปแบบการนิเทศภายใน การวเคราะห์ข้อมูลโดยการวเคราะห์ เชงเนื้อหา การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า
1. ผลการศึกษาความต้องการในการพฒนารูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของ
โรงเรียนมัธยมชัยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ประกอบด้วยดังนี้
1.1 ด้านการให้ความช่วยเหลือแกครูโดยตรง ได้แก การจัดทำเป็นแผนงานหรือโครงการ
รองรับการปรับปรุงและพัฒนาร่วมกันหาแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนและจัดลำดับความต้องการและความจำเป็นที่จะต้องพฒนาปรับปรุง ประชมร่วมกันเพอ
วางแผนก่อนการนิเทศ โดยการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการนิเทศของ
บุคลากรในสถานศึกษา ทำความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องที่จะนิเทศ ระหวางผู้นิเทศและผู้รับการ
นิเทศปฏิบัติการนิเทศตามแผนการนิเทศทกำหนด จดทำเป็นแบบสรปหรือคู่มือการปฏบัติงานผู้นิเทศ
ให้ความรู้ ความชวยเหลือและเป็นที่ปรึกษาได้ในทุกขั้นตอน และสรุปผลการวเคราะห์กระบวนการ
ชวยเหลือครูให้รับทราบ ทั้งที่เป็นจุดเด่นและจุดด้อย กำหนดปฏทิน วธการนิเทศร่วมกัน ขณะนิเทศ
ให้การชวยเหลือโดยแนะนำชแจง ดูแลอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ประชม สัมมนาเพอร่วมกัน วเคราะห์จุดเด่นจุดด้อย เพอให้ผู้รับการนิเทศทราบสภาพที่แท้จริง และร่วมกั นเลือกวธการที่ดีที่สุด นำประเด็นที่เป็นจุดเด่น จุดด้อยมาวเคราะห์หาแนวทางในการพฒนาปรับปรุงร่วมกัน และร่วมกัน อภิปรายและสรุปผลการดำเนินการโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือเกณฑ์ที่กำหนด
1.2 ด้านการพฒนาทักษะการทำงานกลุ่ม ได้แก่ การกำหนดปัญหาและเป้าหมายของการ
แกปัญหาร่วมกันของทีมงาน การสร้างแรงจูงใจ การเสริมแรงและการสร้างขวัญกำลังใจ การวางแผน
และดำเนินงานตามแผนแก้ปัญหาของทีมงาน และการพฒนาครูให้มีศักยภาพในการแสวงหาความรู้และ
ประสบการณ์ทางวิชาการ
1.3 ด้านการเสริมสร้างประสบการณ์ทางวชาชพ ได้แก่ การจัดกิจกรรมแบบสัมมนาผล
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ทั้ง 7 แบบ) การพฒนาความสามารถในการสอนโดยใชเทคนิควธการ
จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การพฒนาความสามารถในการสอนโดยใชเทคนิควธการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้เทคโนโลยี และการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามมาตรฐานวิชาชพครู ตามลำดับ
1.4 ด้านการพัฒนาหลกสูตร ได้แก การจัดทำหลกสูตรสถานศึกษา ด้านคุณลักษณะอน
พึงประสงค์ของผู้เรียน การจัดทำหลกสูตรสถานศึกษาด้านการกำหนดโครงสรางหลักสูตรสถานศึ กษา
แต่ละระดับชนและสัดส่วนเวลาเรียน การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาด้านข้อมูลสารสนเทศ
การจัดทำหลักสูตรสถานศกษาด้านการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจและเป้าหมายในการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาด้านการกำหนดตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้รายปีหรือราย
ภาค การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัดทำคำอธบายรายวชา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ด้านการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัดทำแผน การเรียนรู้ และ
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาด้านการกำหนดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1.5 ด้านการวจัยเชงปฏบัติการในชนเรียน ได้แก่ การกำหนดปัญหาหรือเป้าหมายการ
วิจัยเชิงปฏบัติการในชั้นเรียน การรวบรวมข้อมูลตามวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน และการสรุปผล
และเขียนรายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน
2. ผลการสรางและตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยม
ชัยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ดังนี้
2.1 ผลการสร้างรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภมิ ซึ่งกำหนดองค์ประกอบของรูปแบบคือ 1) หลักการ คือ การ
การนิเทศภายในสถานศึกษา เป็นกระบวนการร่วมมือของผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
การศึกษา โดยการใชกิจกรรมที่หลากหลาย ในการพฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและ
กิจกรรมเสริมอน ๆ ให้มีคุณภาพ 2) วตถุประสงค์ คือ เพอพฒนาครูโดยการให้ความชวยเหลือแก่ครู
โดยตรง พฒนาทักษะการทำงานกลุ่ม เสริมสร้างประสบการณ์ทางวชาชพ พฒนาหลักสูตร และการ
วิจัยเชงปฏบัติการในชั้นเรียน 3) กระบวนการนิเทศภายใน ได้แก่ ร่วมคิด (T Think) ร่วมวางแผน
(P Planning) ร่วมทำ (D Doing) ร่วมกำกับติดตาม นิเทศประเมินผล รายงาน (F Follow
Up) ร่วมรับ ผลที่เกิดขึ้น (E Effects) เงื่อนไขการนำรูป แบบ ไปใช คือ ผู้บ ริห ารตระหนั กถึง
ความสำคัญของการนิเทศให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ สอ อปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกและ
สร้างขวญและกำลังใจให้ กับครู และผลการดำเนินการนิเทศภายในตามรูปแบบการนิเทศภายใน
สถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภมิ ได้แก่ การให้ ความชวยเหลือแก่ครูโดยตรง การพฒนาทักษะการทำงานกลุ่ม การเสริมสร้างประสบการณ์ทาง วิชาชีพ การพัฒนาหลักสูตร การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน
2.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยม ชยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภมิ โดยพจารณาความสอดคล้องเหมาะสม ด้านจุดประสงค์ ด้านเนื้อหา ด้านการใชภาษา ด้านการพมพและรูปเล่ม ด้านความสะดวกในการ
นำไปใช้ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทุกด้าน
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม
สังกดองค์การบริหารสวนจังหวดชยภมิ พบวา การดำเนินการนิเทศภายใน ตามรูปแบบการนิเทศ
ภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภมิ โดยภาพรวม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.82,  = 0.58) เมื่อพจารณาเป็นรายด้าน พบวา
ทุกด้านมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปน้อยสามลำดับแรก คือ ก ารพ ฒ น าห ลั ก สู ต ร ( = 4.09,  = 0.43 ) ก ารพ ฒ น าทั ก ษ ะก ารท ำงาน ก ลุ่ ม ( = 3.92,
 = 0.62) และการเสริมสร้างประสบการณ์ทางวิชาชีพ ( = 3.80,  = 0.59) ตามลำดับ
4. ผลการประเมินรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมชยมงคลรังงาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดชยภมิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.09,  = 0.65) และ
ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีอยในระดับมาก และผ่าน เกณฑ์การประเมินที่กำหนดทุกด้าน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปน้อยสามลำดับแรก คือ มาตรฐานด้านความเหมาะสม ( = 4.11,  = 0.67) มาตรฐานด้านความถูกต้อง ( = 4.10,
 = 0.65) มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ ( = 4.10,  = 0.65) และมาตรฐานด้านความเป็น
ประโยชน์ ( = 4.05,  = 0.66) ตามลำดับ
คำสำคัญ : รูปแบบการนิเทศ, การนิเทศภายในสถานศึกษา