ชื่อเรื่อง รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
(Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน
กศน.จังหวัดอุดรธานี
ผู้วิจัย นายวรินทร์ วิรุณพันธ์
หน่วยงาน ส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรานี ปี ที่พิมพ์ 2564
บทคัดย่อ
การวิจยั น้ีมีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพปัญหาและความตอ้ งการของการพฒั นารูปแบบ
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัด
ส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี 2. พัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based
Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี 3. ทดลองใช้
รูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาใน
สังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี และ 4.ประเมินความเหมาะสมและความพึงพอใจรูปแบบ
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัด
ส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ข้นั ตอนการวิจยั คร้ังน้ีแบ่งออกเป็ น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษา
สภาพปัญหาและความต้องการของการพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based
Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ประชากร ได้แก่
ผู้บริหาร จ านวน 21 คน (ข้อมูลปี งบประมาณ 2563) ผู้บริหารการศึกษา จ านวน 1 คน (ตัวผู้วิจัย)
ผู้บริหารสถานศึกษา กศน.อ าเภอ จ านวน 20 คน (ประชากรที่ให้ข้อมูล) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
รวบรวมได้แก่ 1. แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารของสถานศึกษาในสังกัด
ส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี 2. แบบสอบถามสภาพที่เป็ นจริงและสภาพที่ควรจะเป็ นของการ
บริหารของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean : 𝜇 : 𝑋̅ ) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation : 𝜎 : S.D) การหาค่าความต้องการจ าเป็ นโดยวิธี Priority Needs
Index แบบปรับปรุง PNIModified ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results
Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ข้นั ตอนการ
พัฒนารูปแบบโดยใช้เทคนิคเดลฟาย จ านวน 3 รอบ มีผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 10 คน คัดเลือกโดยวิธี
เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. แบบสอบถามรูปแบบการบริหารแบบมุ่ง
ผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัด2
อุดรธานี รอบที่ 1 (ค าถามปลายเปิ ด) 2. แบบสอบถามรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
(Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี
(รอบที่ 2) 3. แบบสอบถามรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management :
RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี (สรุปฉันทามติ รอบที่ 3) สถิติที่ใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน (Median : Mdn) และค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quartile
Deviation) ระยะที่ 3 การทดลองใช้รู ปแบบการบริ หารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( Results Based
Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ประชากร คือ
คณะกรรมการประเมินความส าเร็จของการด าเนินงานตามรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
(Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี
ประจ าปี งบประมาณ 2563 จ านวน 10 คน ได้แก่ ผู้บริหารการศึกษา จ านวน 2 คน ผู้อ านวยการ
สถานศึกษา จ านวน 5 คน หัวหน้ากลุ่มงาน ส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี จ านวน 2 คน และ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน จ านวน 1 คน การประเมินความพึงพอใจ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร
จ านวน 21 คน ข้าราชการครู จ านวน 32 คน ข้าราชการบรรณารักษ์ จ านวน 7 คน ลูกจ้างประจ า
จ านวน 7 คน พนักงานราชการ จ านวน 366 คน จ้างเหมาบริการ (ครูผู้สอน) จ านวน 173 ประชากร
รวมจ านวน 606 คน (ข้อมูลปี งบประมาณ 2563) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร จ านวน 19 คน
ข้าราชการครู จ านวน 30 คน ข้าราชการบรรณารักษ์ จ านวน 7 คน ลูกจ้างประจ า จ านวน 7 คน
พนักงานราชการ จ านวน 186 คน จ้างเหมาบริการ (ครูผู้สอน) จ านวน 118 กลุ่มตัวอย่างรวมจ านวน
367 คน โดยใช้ตารางก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ เครจซี; และ มอร์แกน (Krejcie; & Morgan.
1970 : 607-610) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ รูปแบบการบริหารแบบมุ่ง
ผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัด
อุดรธานี ประจ าปี งบประมาณ 2563 2. แบบบันทึกการประชุมเพื่อพิจารณาผลการทดลองใช้
รูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาใน
สังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ประจ าปี งบประมาณ 2563 3. แบบประเมินความส าเร็จของ
การด าเนินงานตามรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของ
สถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ประจ าปี งบประมาณ 2563 และ4.
แบบสอบถามความพึงพอใจรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management :
RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ประจ าปี งบประมาณ 2563 สถิติที่
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean : 𝜇 : 𝑋̅
) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation : 𝜎 : S.D) ระยะที่ 4 ประเมินความเหมาะสม
และความพึงพอใจรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของ3
สถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ได้แก่ การประเมินความเหมาะสมโดย
ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 10 คน คัดเลือกโดยวิธีเจาะจง และการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบ
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร จ านวน 22 คน ข้าราชการครู จ านวน 32
คน ข้าราชการบรรณารักษ์ จ านวน 7 คน ลูกจ้างประจ า จ านวน 6 คน พนักงานราชการ จ านวน 388
คน จ้างเหมาบริการ (ครูผู้สอน) จ านวน 166 ประชากรรวมจ านวน 655 คน (ข้อมูลปี งบประมาณ
2564) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร จ านวน 20 คน ข้าราชการครู จ านวน 30 คน ข้าราชการ
บรรณารักษ์ จ านวน 7 คน ลูกจ้างประจ า จ านวน 6 คน พนักงานราชการ จ านวน 192 คน จ้างเหมา
บริการ (ครูผู้สอน) จ านวน 113 กลุ่มตัวอย่างรวมจ านวน 368 คน โดยใช้ตารางก าหนดขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างของ เครจซี; และมอร์แกน (Krejcie; & Morgan. 1970 : 607-610) เครื่องมือที่ใช้ในการ
เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1. แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในการพัฒนารูปแบบการ
บริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน
กศน.จังหวัดอุดรธานี (รอบที่ 1) 2. แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในการพัฒนา
รูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาใน
สังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี (สรุปฉันทามติ รอบที่ 2) และ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจ
รูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาใน
สังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ด้วยค่ามัธยฐาน
(Median : Mdn) ค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quartile Deviation) ค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean : 𝜇 : 𝑋̅ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation : 𝜎 : S.D)
ผลการวิจัย พบว่า
ระยะที่ 1 สภาพที่เป็ นจริงของการบริหารงานของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน
กศน.จังหวัดอุดรธานี โดยรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (𝜇 = 2.90 , 𝜎 = .184) เมื่อ
พิจารณารายด้าน พบว่าอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ล าดับแรก คือ ด้าน
การบริหารงบประมาณ ดา้ นการบริหารงานทวั่ ไป (𝜇 = 3.45 , 𝜎 = .510) รองลงมาคือด้านการศึกษา
ต่อเนื่อง (𝜇 = 2.92, 𝜎 = .366) และดา้ นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (𝜇 = 2.83,
𝜎 = .294) ในส่วนของสภาพที่ควรจะเป็ นของการบริหารงานของสถานศึกษาในสังกัด ส านักงาน
กศน.จังหวัดอุดรธานี โดยรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (𝜇 = 4.78 , 𝜎 = .084) เมื่อ
พิจารณารายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ล าดับแรก คือ ด้าน
การบริหารงานทวั่ ไป (𝜇 = 4.90, 𝜎 = .307) รองลงมาคือ ด้านการบริหารงบประมาณ (𝜇 = 4.85, 𝜎
= .366) และด้านการศึกษาตามอัธยาศัย (𝜇 = 4.79, 𝜎 = .126) ความต้องการจ าเป็ นในการพัฒนา
รูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี4
พบว่า มีความต้องการจ าเป็ นทุกรายการอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่า PNI Modified อยู่ระหว่าง 0.698
0.405 ด้านที่มีความต้องการจ าเป็ นที่พบว่า มีค่า PNI
Modified สูงสุด มีความส าคัญเป็ นล าดับที่ 1 คือ
ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย (0.698) ลาดับที่ 2 คือ ด้านการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั
พ้ืนฐาน (0.681) ล าดับที่ 3 คือ ด้านการศึกษาต่อเนื่อง (0.633) ล าดับที่ 4 คือ ด้านการบริหารงาน
ทวั่ ไป (0.420) ลาดบั ที่ 5 คือ ดา้ นการบริหารงบประมาณ (0.405)
ระยะที่ 2 รู ปแบบการบริ หารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management :
RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ประกอบไปด้วย ส่วนที่ 1 บทน า
ส่ วนที่ 2 รู ปแบบการบริ หารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของ
สถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ส่วนที่ 3 รู ปแบบการบริหารแบบมุ่ง
ผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) สู่การปฏิบัติ ได้ก าหนดเกณฑ์การประเมิน
ความส าเร็ จของการด าเนินงานตามรู ปแบบการบริ หารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based
Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ไว้ 5 ด้าน 13
ตวั ช้ีวดั คือ ด้านการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จานวน 4 ตวั ช้ีวดั ด้านการศึกษาต่อเนื่อง จานวน 3 ตวั ช้ีวดั
ดา้ นการศึกษาตามอธั ยาศยั จานวน 4 ตวั ช้ีวดั ดา้ นการบริหารงบประมาณ จานวน 1 ตวั ช้ีวดั และดา้ น
การบริหารงานทวั่ ไป จานวน 1 ตวั ช้ีวดั มีเกณฑ์ระดับคุณภาพ 5 ระดับ คือ ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี
ดีมาก ดีเด่น และเกณฑ์ค่าความส าเร็จของงานตามเป้าหมายที่วางไว้ 5 ระดับ คือ ระดับเพชร ระดับ
ทอง ระดบั เงิน ระดบั ทองแดง และระดบั ตะกวั่
ระยะที่ 3 การทดลองใช้รู ปแบบการบริ หารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( Results Based
Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี จากรูปแบบที่สร้าง
ข้ึนระยะที่ 2 คือ รูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management : RBM) ของ
สถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ประจ าปี งบประมาณ 2563 ผลความส าเร็จของ
การด าเนินงานตามรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของสถานศึกษาในสังกัด ส านักงาน กศน.
จงั หวดั อุดรธานี ภาพรวมท้งั จงั หวดั จาแนกตามองค์ประกอบ การประเมิน มีการด าเนินงานได้ตาม
เกณฑ์อยู่ในระดับทอง (𝜇 = 4.72, 𝜎 = .324) โดยด้านการศึกษาต่อเนื่อง มีค่าเฉลี่ยสุงสุด (𝜇 = 4.81,
𝜎 = .166) รองลงมาเป็ นด้านการบริหารงบประมาณ (𝜇 = 4.60, 𝜎 = .802) และการบริหารงาน
ทวั่ ไป (𝜇 = 4.60, 𝜎 = .491) และรองลงมาอีกคือด้านการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (𝜇 = 3.10, 𝜎 = .802)
และด้านการศึกษาตามอัธยาศัย (𝜇 = 1.52, 𝜎 = .531) และความพึงพอใจของผูร้ ับการประเมินท้งั
20 อ าเภอ พบว่า มีความพึงพอใจในการประเมินอยู่ในระดับมาก ( 𝑋̅ = 4.32, S.D. = .427)
ระยะที่ 4 การประเมินความเหมาะสมและความพึงพอใจรูปแบบการบริหารแบบมุ่ง
ผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัด5
อุดรธานี โดยได้มีการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบตามการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้รูปแบบที่
ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 บทน า ส่วนที่ 2 รูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based
Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ส่วนที่ 3 รูปแบบ
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) สู่การปฏิบัติ การก าหนดเกณฑ์
การประเมินประสิทธิภาพการท างานของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ไว้ 5
ด้าน 17 ตวั ช้ีวดั คือ ด้านการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จานวน 4 ตวั ช้ีวดั ด้านการศึกษาต่อเนื่อง จานวน 3
ตวั ช้ีวดั ดา้ นการศึกษาตามอธั ยาศยั จานวน 4 ตวั ช้ีวดั ดา้ นการบริหารงบประมาณ จานวน 4 ตวั ช้ีวดั
และดา้ นการบริหารงานทวั่ ไป จานวน 2 ตวั ช้ีวดั มีเกณฑร์ ะดบั คุณภาพ ไว้ 5 ระดบั คือ ตอ้ งปรับปรุง
พอใช้ ดี ดีมาก ดีเด่น และเกณฑ์ค่าความส าเร็จของงานตามเป้าหมายที่วางไว้ 5 ระดับ คือ ระดับ
เพชร ระดับทอง ระดับเงิน ระดับทองแดง และระดับตะกั่ว ผลการประเมินความเหมาะสม และ
ความเป็ นไปได้ในการน ารูปแบบไปใช้ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ดังน้ี ด้านความเหมาะสม อยู่
ในระดับมากที่สุด (𝜇 = 4.92, 𝜎 = .207) และด้านความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด (𝜇 = 4.93,
S.D. = .278) และความพึงพอใจของรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด ( 𝑋̅ = 4.63, S.D. = .219)
ดังน้ันผลสรุปการวิจยั การพฒั นารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Results Based
Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน.จงั หวดั อุดรธานี ในคร้ังน้ี มีการ
ก าหนดเกณฑ์การประเมินความส าเร็จของการด าเนินงานตามรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
(Results Based Management : RBM) ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ไว้
5 ดา้ น 17 ตวั ช้ีวดั คือ ดา้ นการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จานวน 4 ตวั ช้ีวดั ด้านการศึกษาต่อเนื่อง จ านวน 3
ตวั ช้ีวดั ดา้ นการศึกษาตามอธั ยาศยั จานวน 4 ตวั ช้ีวดั ด้านการบริหารงบประมาณ จ านวน 4 ตวั ช้ีวดั
และด้านการบริหารงานทวั่ ไป จานวน 2 ตวั ช้ีวดั มีเกณฑ์ระดับคุณภาพ 5 ระดับ คือ ตอ้ งปรับปรุง
พอใช้ ดี ดีมาก ดีเด่น และมีการก าหนดเกณฑ์ค่าความส าเร็จของงาน ไว้ 5 ระดับ คือ ระดับเพชร
ระดับทอง ระดับเงิน ระดับทองแดง และระดับตะกั่ว สรุปได้ว่ารูปแบบมีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับมากที่สุด และมีความพึงพอใจของผู้ใช้รูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด เหมาะสมส าหรับ
สถานศึกษาเพื่อน าไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา น าผลจากการวิจัยไป
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาการบริหารจัดการส าหรับสถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาอื่นๆ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ค าส าคัญ : รูปแบบ, การพัฒนารูปแบบ, การบริหาร, การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์