การประเมินโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ สังกัดเทศบาลเมืองหนองคาย วัตถุประสงคของการประเมินโครงการ
1. เพื่อประเมินความเหมาะสมของสภาวะแวดลอม (Context Evaluation : C) ของโครงการพัฒนา ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษสื่อสารของนักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ 2.เพื่อประเมินความพรอมของปจจัย เบื้องตน (InputEvaluation : I) ในการดําเนินของ โครงการพัฒนาความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษสื่อสารของนักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ 3. เพื่อประเมินความเหมาะสมของกระบวนการ (Process Evaluation : P ) ดําเนินงานของโครงการ พัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษสื่อสารของ นักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ 4. เพื่อประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P ) ของโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEPโรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ ผูใหขอมูลในการประเมิน ผูใหขอมูลในการประเมิน ครั้งนี้แบงออกไดเปน 3 กลุม ดังนี้ 1.ผูบริหารและครูในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ 2562 2. นักเรียนระดับปฐมวัย ประถมศึกษาปีที่ 6 ในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ ปการศึกษา 2562 3. ผูมีสวนไดสวนเสียจําแนกเปนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ ผูปกครองนักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ ปการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใชในการประเมิน
1. แบบประเมินเปนแบบประเมินมาตราสวนประมาณคา 2. แบบประเมินที่ผานการตรวจสอบ จากผูเชี่ยวชาญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ
สรุปผลการประเมินโครงการพัฒนาความสามารถการใชภาษาอังกฤษสื่อสารของ นักเรียนในโครงการการจัดหลักสูตรมินิอิงลิชโปรแกรม MEP โรงเรียนเทศบาล 2 ชำนาญอนุเคราะห์ ไดดังนี้
1. ผลการประเมินบริบทของโครงการซึ่งมี 1 ตัวชี้วัด คือ ความเหมาะสมของสภาวะ แวดลอมพบวาอยูในระดับมากและผานเกณฑการประเมินเมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ความเหมาะสมกับความตองการของนักเรียนมีความเหมาะสมเปนอันดับ 1 สวนรายการที่มี ความเหมาะสมเปนอันดับสุดทายคือชวงเวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมและเพียงพอ
2. ผลการประเมินปจจัยนําเขาของโครงการซึ่งมี 1 ตัวชี้วัด คือ ความพร้อมของปัจจัยในการดำเนินงานตามโครงการ พบวา อยูในระดับมากและผานเกณฑการประเมิน เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบวา พรอมของครูผูรับผิดชอบแตละกิจกรรมมีความพรอมเปนอันดับ 1 ส่วนรายการที่มีพร้อมเป็นอันดับสุดท้าย คือ ผู้มีสวนไดสวนเสียใหการสนับสนุนเปนอันดับสุดทาย
3. การประเมินกระบวนการของโครงการพบวาอยูในระดับมากซึ่งผานเกณฑ การ ประเมินทั้ง 7 ตัวชี้วัด คือ
3.1 ขั้นเตรียมการดําเนินการตามโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา วัตถุประสงคของกิจกรรมมีความสอดคลองกับ วัตถุประสงคของโครงการมีความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสม เปนอันดับสุดทายคือมีแหลงเรียนรูเพียงพอ
3.2 ขั้นการดําเนินกิจกรรม Multi Skill Record มีผลการประเมินโดยรวมอยู ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา แรงจูงใจใหรวมกิจกรรมมีความเหมาะสมมากที่สุด เปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีแหลงเรียนรูเพียงพอ
3.3 ขั้นการดําเนินกิจกรรม General English Proficiency Test มีผล การประเมินโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบว่า กิจกรรมสงเสริม ความสามารถ ในการใชภาษาอังกฤษมีความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1 และรายการที่ มีความเหมาะสมเปนอันดับ สุดทาย คือ เวลาในการทําแบบทดสอบ
3.4 ขั้นดําเนินกิจกรรม Cultural & English Camp มีผลการประเมินโดย รวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการพบวาเรียนรูในบริบทของความเปนไทยผสมผสาน ความเปนสากลมีความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือมีการดําเนิงานตามโครงการทุกกิจกรรม
3.5 ขั้นดําเนินกิจกรรม Academic Enrichment Course มีผล การประเมินโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีทักษะการจัดการและ แกปญหามีความเหมาะสมมากที่สุดเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีการดําเนินงานตามโครงการทุกกิจกรรม
3.6 ขั้นดําเนินงานจัดกิจกรรม Open House มีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนภาษา และวัฒนธรรมมีความเหมาะสมเปนอันดับ1 และรายการที่มีความเหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีกิจกรรมทัศนศึกษา
3.7 ขั้นประเมินผล และรายงานผลโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมากและผานเกณฑการประเมินเชนกัน เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีการนําผล การประเมินไปปรับและพัฒนาใหกาวหนความเหมาะสมมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความ เหมาะสมเปนอันดับสุดทาย คือ มีเครื่องมือการประเมินแตละกิจกรรม
4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการพบวาอยูในระดับมากซึ่งผานเกณฑการประเมิน ทั้ง 6 ตัวชี้วัด คือ
4.1 ผลการปฏิบัติงานของครูในโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ครูมีสวนรวมในการวางแผนการดําเนินงานของโครงการ มีผลการปฏิบัติมากเปนอันดับ 1 และรายการที่มีผลการปฏิบัติเปนอันดับสุดทาย คือ ครูมีบทบาทใน การติดตามกํากับ ดูแลกระบวนการทํางานของนักเรียน
4.2 ความพึงพอใจของครูที่มีตอโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ไดรับความสะดวกในการเขารวมกิจกรรมเปน ความพึงพอใจมากที่สุดอันดับ 1 และรายการที่เปนความพึงพอใจอันดับสุดทาย คือ ขั้นตอน กิจกรรมในโครงการเปนไปตามกําหนด
4.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอโครงการมีผลการประเมินโดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีโอกาสไดใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพิ่มขึ้นเปน ความพึงพอใจมากที่สุดเปนอันดับ 1 และรายการที่เปนความพึงพอใจเปนอันดับสุดทาย คือ ผูปกครองใหความสําคัญ และใหการสนับสนุนมากขึ้น
4.4 ความพึงพอใจของผูมีสวนไดสวนเสียที่มีตอโครงการมีผลการประเมินโดย รวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละรายการพบวามีการรายงานความกาวหนาของโครงการอยาง ตอเนื่องเปนความพึงพอใจมากที่สุดเปนอันดับ 1 และรายการที่มีความพึงพอใจเปนอันดับสุดทาย คือ โครงการมีการวางแผนตามกิจกรรมที่วางไว
4.5 ผลการสอบวัดความรูภาษาอังกฤษของนักเรียนมีผลการสอบโดยรวมผานเกณฑ กําหนด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานการสนทนา (Conversation) มีผลการสอบมากที่สุด และดานที่มีผลการสอบต่ำที่สุดคือดานไวยากรณ (Grammar) และเมื่อพิจารณาในแตละระดับ พบวานักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 3 ผลการสอบมากที่สุด 3 มีและระดับที่มีผลการสอบต่ำที่สุด คือ ระดับชั้นปฐมวัย
4.6 ผลการสัมภาษณการใชภาษาอังกฤษสื่อสารมีผลการสัมภาษณโดยรวม ผานเกณฑกําหนด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานการออกเสียง (Pronunciation) มีผลการสัมภาษณ มากที่สุดและด้านที่มีผลการสัมภาษณต่ำที่สุด คือ ดานความคลองแคลว (Fluency) ซึ่งไมผานเกณฑ และเมื่อพิจารณาในแตละระดับ พบวา นักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 3 มีผล การสัมภาษณ์ มากที่สุดผลการสัมภาษณมากที่สุดคือนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 3 และระดับ ที่มีผลการสัมภาษณ์น้อยที่สุด คือ ระดับปฐมวัย