แบบบันทึกกิจกรรม
เรื่อง ตำแหน่ง
ตัวอย่าง จงบอกตำแหน่งต้นไม้ 2 ต้น จากรูป โดยใช้เทคนิคของโพลยา
เทคนิคของโพลยา
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์เข้าใจปัญหา โดยวิเคราะห์ปัญหาได้ว่า มีสิ่งใดบ้างที่เรารู้ และ สิ่งใดที่ต้องการรู้จากปัญหา
1.1 สิ่งที่รู้ ............................................................................................................................................
..
..
..
1.2 สิ่งที่ต้องการรู้ ..............................................................................................................................
..
2. วางแผนการแก้ปัญหา โดยนำสิ่งที่วิเคราะห์จากปัญหา มาโยงความสัมพันธ์กับทฤษฎี
2.1 เชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่รู้กับสิ่งที่ต้องการรู้
..
..
(แผนภาพ)
2.2 เลือกวิธีหรือเทคนิค (หลักการทางฟิสิกส์)
..
..
..
..
3. ลงมือทำตามแผน
วิธีทำ ...................................................................................................................................................
..
..
..
..
..
..
..
..
..
..
4. ตรวบสอบ
ตรวจคำตอบ........................................................................................................................................
ความคิดรวบยอด (สรุปสาระสำคัญ)
ตำแหน่ง (point) หมายถึง .........................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
การบอกตำแหน่งของวัตถุ ควรจะมี
1. .......................................................................................................................................................
2. .......................................................................................................................................................
3. .......................................................................................................................................................
แนวคิดการแก้ปัญหาตามเทคนิคของโพลยา
1. วิเคราะห์เข้าใจปัญหา โดยวิเคราะห์ปัญหาได้ว่า มีสิ่งใดบ้างที่เรารู้ และ สิ่งใดที่ต้องการรู้จากปัญหา
1.1 สิ่งที่รู้ ............................................................................................................................................
1.2 สิ่งที่ต้องการรู้ ..............................................................................................................................
2. วางแผนการแก้ปัญหา โดยนำสิ่งที่วิเคราะห์จากปัญหา มาโยงความสัมพันธ์กับทฤษฎี
2.1 เชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่รู้กับสิ่งที่ต้องการรู้ .................
.
(แผนภาพ)
2.2 เลือกวิธีหรือเทคนิค (หลักการทางฟิสิกส์) ...................................................................................
3. ลงมือทำตามแผน
วิธีทำ ...................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. ตรวบสอบ
ตรวจคำตอบ........................................................................................................................................
แนวการสอนขั้นการนำเสนอบทเรียนใหม่
ใบความรู้
เรื่อง ตำแหน่ง
ตัวอย่าง จงบอกตำแหน่งต้นไม้ 2 ต้น จากรูป โดยใช้เทคนิคของโพลยา
เทคนิคของโพลยา
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์เข้าใจปัญหา โดยวิเคราะห์ปัญหาได้ว่า มีสิ่งใดบ้างที่เรารู้ และ สิ่งใดที่ต้องการรู้จากปัญหา
1.1 สิ่งที่รู้ 1) มีต้นไม้ 2 ต้น
2) ไม่มีระยะห่างระหว่างต้นไม้ทั้งสองต้น
3) ต้นไม้ทั้งสองต้น อยู่ด้านซ้ายหรือด้านขวาของกันและกัน
1.2 สิ่งที่ต้องการรู้ คือ ตำแหน่งของต้นไม้ทั้งสองต้น
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
2.1 เชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่รู้กับสิ่งที่ต้องการรู้ (แผนภาพ)
2.1.1 กำหนดตำแหน่งของต้นไม้ต้นใดต้นหนึ่ง เป็นตำแหน่งอ้างอิง
2.1.2 โดยเขียนสัญลักษณ์ที่ต้นไม้ เช่น เลข 1 และ เลข 2
2.2 เลือกวิธีหรือเทคนิค โดยใช้หลักการทางฟิสิกส์ เรื่อง ตำแหน่ง ดังนี้
2.2.1 ต้องมีตำแหน่งอ้างอิง (โจทย์ไม่กำหนดตำแหน่งอ้างอิง จึงต้องกำหนดเอง)
2.2.2 ระยะห่างระหว่างตำแหน่งของวัตถุกับตำแหน่งอ้างอิง (ไม่กำหนด ไม่ต้องบอก)
2.2.2 ทิศทางของตำแหน่งของวัตถุเทียบกับตำแหน่งอ้างอิง
ขั้นตอนที่ 3 ทำตามแผน
วิธีทำ การบอกตำแหน่งต้องมีตำแหน่งอ้างอิง (reference point) เสมอ
- ต้นไม้ต้นที่ 1 อยู่ทางซ้าย ของต้นไม้ต้นที่ 2
โดยที่ ต้นไม้ต้นที่ 2 เป็นตำแหน่งอ้างอิง
- ต้นไม้ต้นที่ 2 อยู่ทางขวา ของต้นไม้ต้นที่ 1
โดยที่ ต้นไม้ต้นที่ 1 เป็นตำแหน่งอ้างอิง
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจคำตอบ
โดยใช้ เส้นจำนวน ให้จุด 0 วางที่ต้นไม้ต้นที่เป็นตำแหน่งอ้างอิง
ความคิดรวบยอด
ตำแหน่ง (point) หมายถึง จุดของวัตถุที่สังเกตว่าอยู่ที่ใด
การบอกตำแหน่งของวัตถุ ควรจะมี
1. ตำแหน่งอ้างอิง (reference point) เสมอ
2. ระยะเทียบกับตำแหน่งอ้างอิง
3. ทิศทางเทียบกับตำแหน่งอ้างอิง
แนวคิดการแก้ปัญหาตามเทคนิคของโพลยา
1. วิเคราะห์เข้าใจปัญหา โดยวิเคราะห์ปัญหาได้ว่า มีสิ่งใดบ้างที่เรารู้ และ สิ่งใดที่ต้องการรู้จากปัญหา
1.1 สิ่งที่รู้ ............................................................................................................................................
1.2 สิ่งที่ต้องการรู้ ..............................................................................................................................
2. วางแผนการแก้ปัญหา โดยนำสิ่งที่วิเคราะห์จากปัญหา มาโยงความสัมพันธ์กับทฤษฎี
2.1 เชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่รู้กับสิ่งที่ต้องการรู้ (แผนภาพ)
.
2.2 เลือกวิธีหรือเทคนิค (หลักการทางฟิสิกส์) ...................................................................................
3. ลงมือทำตามแผน
วิธีทำ ...................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. ตรวบสอบ
ตรวจคำตอบ........................................................................................................................................