ค้นหาทุกอย่างในเว็บครูบ้านนอก :
ชุมชนครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน แหล่งความรู้สำหรับครู นักเรียน ข่าวการศึกษา ห้องสมุดความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และความรู้ทั่วไป เผยแพร่ผลงานวิชาการ ที่นี่


ค้นหากระทู้
ตั้งกระทู้คำถามใหม่ กลับหน้าที่แล้ว
 
รายงานผลการประเมินโครงการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงาน ของโรงเรียนเทศบาล 2 วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์

ชื่องานประเมิน : รายงานผลการประเมินโครงการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงาน

ของโรงเรียนเทศบาล 2 วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์

ผู้ประเมิน : ไพเราะ ใจชื่น

ปีที่ประเมิน : ปี 2560

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

การประเมินผลการพัฒนาโครงการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ในครั้งนี้ เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานของโครงการ โดยผู้ประเมินเลือกใช้ซิปโมเดล (CIPP Model) ตามแนวคิดของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) และขยายผลผลิตเป็น IEST การดำเนินการประเมินโครงการเพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานนั้น มีขอบเขตการพัฒนาออกเป็น 2 ด้าน คือ ขอบเขตด้านประชากร ที่ใช้ในการประเมินประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการงานด้านวิชาการของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 38 คน และ ขอบเขตเนื้อหาการประเมิน เป็นรายด้าน คือ ด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยป้อน (Input) ด้านกระบวนการ (Process) ด้านผลผลิต (Product) ด้านผลกระทบของโครงการ (Impact) ด้านประสิทธิผลของโครงการ (Effectiveness) ด้านประเมินความยั่งยืนของโครงการ (Sustainability) ด้านประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ (Transportability) ผู้ประเมินได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำผล ที่ได้เปรียบเทียบกับระดับผลของการประเมินแต่ละรายการตามที่ได้กำหนดไว้ ผลที่ได้นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย

ผลการประเมินโครงการพบว่า

1. ด้านการประเมินบริบท (Context ) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่า ด้านการประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการเกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านบริบท (Context) ผลการประเมินมีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อโดยเรียงลำดับดังนี้ คือโครงการนี้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน รองลงมาได้แก่ กำหนดงานจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไว้ในฝ่าย/งานได้ถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน สามารถใช้ในการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูได้อย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และ ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ที่ได้คะแนนต่ำสุดได้แก่ โครงการนี้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับ

2. ด้านการประเมินปัจจัยป้อน (Input) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ ในภาพรวมของ ด้านปัจจัยป้อน (Input) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีแผนการบริหารจัดการไว้อย่างชัดเจนเป็นขั้นตอน เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ มีการส่งเสริมพัฒนาคณะครูในเรื่องเกี่ยวกับการวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้โครงงานอย่างต่อเนื่องและมีการประเมินผลระหว่างการดำเนินงานเป็นระยะๆ อยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนที่มีผลการประเมินต่ำสุด คือมีการวิเคราะห์ภารกิจและกำหนดแผนการจัดประสบการณ์ที่หน่วยงานต้องมีและต้องใช้ในหนึ่งปีการศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุด

3. ด้านการประเมินกระบวนการ (Process) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินกระบวนการของโครงการ เกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านกระบวนการ (Process) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด ทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีการกำหนดระยะเวลาการประเมินไว้ชัดเจน, มีครูรับผิดชอบเป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการประเมินผลอย่างเป็นระบบ, มีการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนนำไปใช้ทุกครั้ง, มีแนวทางขั้นตอนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่ชัดเจน, มีการตรวจสอบผลการวิเคราะห์ทุกครั้ง, มีคณะครูที่เป็นเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการเพื่อให้บริการโดยเฉพาะ และมีการรวบรวมเอกสารสรุปการประเมินไว้เป็นหลักฐาน เฉลี่ยสูงสุด ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือมีการแจ้งผลการตรวจสอบข้อมูลให้หน่วยงานทราบ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด

4. ด้านการประเมินผลผลิต (Product) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินผลผลิตของโครงการ เกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านผลผลิต (Product) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าโรงเรียนมีโครงงานได้ครบตามเป้าหมายที่กำหนดไว้, สรุปผลการประเมินนำไปใช้ในการรายงาน และสรุปผลการประเมินที่ได้นำไปใช้ในการประชาสัมพันธ์ เฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือการพัฒนาโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางลบ อยู่ในระดับ มากที่สุด

5. ด้านผลกระทบของโครงการ (Impact) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินผลกระทบของโครงการ เกี่ยวกับความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความเชื่อมั่นของผู้บริหารระดับเทศบาลต่อโรงเรียน, ความเชื่อมั่นของนักเรียนรุ่นน้องต่อพัฒนาการของเด็กทุกคนและผู้ปกครองให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความเชื่อมั่นของผู้ปกครองต่อและผู้ปกครองให้ความร่วมมือในกิจกรรมของโรงเรียน ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือชุมชนให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด

6. ด้านประสิทธิผลของโครงการ (Effectiveness) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินประสิทธิผลของโครงการ เกี่ยวกับประสิทธิภาพด้านวิชาการของนักเรียนด้านการดำเนินงานที่คุ้มค่า และความพึงพอใจที่มีต่อผลผลิตของโครงการ ในภาพรวมของ ด้านประสิทธิผลของโครงการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่ามีความพึงพอใจของผู้ปกครองที่แสดงต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานและมีความพร้อมในการที่จะเรียนต่อในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความพร้อมด้านพัฒนาการของเด็กที่เรียนจบชั้นอนุบาลปีที่ 3 ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือเด็กมีทักษะกระบวนการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับ มากที่สุด

7. ด้านประเมินความยั่งยืนของโครงการ (Sustainability) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินความยั่งยืนของโครงการ เกี่ยวกับความสามารถในการบูรณาการความรู้ ทักษะ และกระบวนการปฏิบัติของนักเรียน โดยในภาพรวมของ ด้านความยั่งยืนของโครงการ พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาศักยภาพในการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงงาน เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาได้แก่ ครูความสามารถนำความรู้ทักษะกระบวนการปฏิบัติที่ได้รับไปพัฒนาศักยภาพในการเรียนรู้ของนักเรียน, นักเรียนมีทักษะกระบวนการและความชำนาญในการปฏิบัติกิจกรรม และ ครูสามารถบูรณาการความรู้ ทักษะกระบวนการปฏิบัติไปใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ มีเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด

8. ด้านประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ (Transportability) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ เกี่ยวกับความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของนักเรียนในภาพรวมของ ด้านการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ พบว่าผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกรายข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าสามารถต่อยอดองค์ความรู้ในระดับที่สูงขึ้นได้ อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความสามารถในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านความรู้และประสบการณ์ระหว่างกัน ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือครูสามารถให้คำปรึกษาแก่เพื่อนครูได้ อยู่ในระดับ มากที่สุด

ชื่องานประเมิน : รายงานผลการประเมินโครงการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงาน

ของโรงเรียนเทศบาล 2 วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์

ผู้ประเมิน : ไพเราะ ใจชื่น

ปีที่ประเมิน : ปี 2560

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

การประเมินผลการพัฒนาโครงการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ในครั้งนี้ เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานของโครงการ โดยผู้ประเมินเลือกใช้ซิปโมเดล (CIPP Model) ตามแนวคิดของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) และขยายผลผลิตเป็น IEST การดำเนินการประเมินโครงการเพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานนั้น มีขอบเขตการพัฒนาออกเป็น 2 ด้าน คือ ขอบเขตด้านประชากร ที่ใช้ในการประเมินประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการงานด้านวิชาการของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 38 คน และ ขอบเขตเนื้อหาการประเมิน เป็นรายด้าน คือ ด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยป้อน (Input) ด้านกระบวนการ (Process) ด้านผลผลิต (Product) ด้านผลกระทบของโครงการ (Impact) ด้านประสิทธิผลของโครงการ (Effectiveness) ด้านประเมินความยั่งยืนของโครงการ (Sustainability) ด้านประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ (Transportability) ผู้ประเมินได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำผล ที่ได้เปรียบเทียบกับระดับผลของการประเมินแต่ละรายการตามที่ได้กำหนดไว้ ผลที่ได้นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย

ผลการประเมินโครงการพบว่า

1. ด้านการประเมินบริบท (Context ) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่า ด้านการประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการเกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านบริบท (Context) ผลการประเมินมีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อโดยเรียงลำดับดังนี้ คือโครงการนี้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน รองลงมาได้แก่ กำหนดงานจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไว้ในฝ่าย/งานได้ถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน สามารถใช้ในการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูได้อย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และ ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ที่ได้คะแนนต่ำสุดได้แก่ โครงการนี้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับ

2. ด้านการประเมินปัจจัยป้อน (Input) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ ในภาพรวมของ ด้านปัจจัยป้อน (Input) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีแผนการบริหารจัดการไว้อย่างชัดเจนเป็นขั้นตอน เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ มีการส่งเสริมพัฒนาคณะครูในเรื่องเกี่ยวกับการวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้โครงงานอย่างต่อเนื่องและมีการประเมินผลระหว่างการดำเนินงานเป็นระยะๆ อยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนที่มีผลการประเมินต่ำสุด คือมีการวิเคราะห์ภารกิจและกำหนดแผนการจัดประสบการณ์ที่หน่วยงานต้องมีและต้องใช้ในหนึ่งปีการศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุด

3. ด้านการประเมินกระบวนการ (Process) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินกระบวนการของโครงการ เกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านกระบวนการ (Process) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด ทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีการกำหนดระยะเวลาการประเมินไว้ชัดเจน, มีครูรับผิดชอบเป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการประเมินผลอย่างเป็นระบบ, มีการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนนำไปใช้ทุกครั้ง, มีแนวทางขั้นตอนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่ชัดเจน, มีการตรวจสอบผลการวิเคราะห์ทุกครั้ง, มีคณะครูที่เป็นเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการเพื่อให้บริการโดยเฉพาะ และมีการรวบรวมเอกสารสรุปการประเมินไว้เป็นหลักฐาน เฉลี่ยสูงสุด ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือมีการแจ้งผลการตรวจสอบข้อมูลให้หน่วยงานทราบ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด

4. ด้านการประเมินผลผลิต (Product) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินผลผลิตของโครงการ เกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านผลผลิต (Product) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าโรงเรียนมีโครงงานได้ครบตามเป้าหมายที่กำหนดไว้, สรุปผลการประเมินนำไปใช้ในการรายงาน และสรุปผลการประเมินที่ได้นำไปใช้ในการประชาสัมพันธ์ เฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือการพัฒนาโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางลบ อยู่ในระดับ มากที่สุด

5. ด้านผลกระทบของโครงการ (Impact) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินผลกระทบของโครงการ เกี่ยวกับความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความเชื่อมั่นของผู้บริหารระดับเทศบาลต่อโรงเรียน, ความเชื่อมั่นของนักเรียนรุ่นน้องต่อพัฒนาการของเด็กทุกคนและผู้ปกครองให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความเชื่อมั่นของผู้ปกครองต่อและผู้ปกครองให้ความร่วมมือในกิจกรรมของโรงเรียน ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือชุมชนให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด

6. ด้านประสิทธิผลของโครงการ (Effectiveness) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินประสิทธิผลของโครงการ เกี่ยวกับประสิทธิภาพด้านวิชาการของนักเรียนด้านการดำเนินงานที่คุ้มค่า และความพึงพอใจที่มีต่อผลผลิตของโครงการ ในภาพรวมของ ด้านประสิทธิผลของโครงการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่ามีความพึงพอใจของผู้ปกครองที่แสดงต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานและมีความพร้อมในการที่จะเรียนต่อในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความพร้อมด้านพัฒนาการของเด็กที่เรียนจบชั้นอนุบาลปีที่ 3 ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือเด็กมีทักษะกระบวนการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับ มากที่สุด

7. ด้านประเมินความยั่งยืนของโครงการ (Sustainability) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินความยั่งยืนของโครงการ เกี่ยวกับความสามารถในการบูรณาการความรู้ ทักษะ และกระบวนการปฏิบัติของนักเรียน โดยในภาพรวมของ ด้านความยั่งยืนของโครงการ พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาศักยภาพในการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงงาน เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาได้แก่ ครูความสามารถนำความรู้ทักษะกระบวนการปฏิบัติที่ได้รับไปพัฒนาศักยภาพในการเรียนรู้ของนักเรียน, นักเรียนมีทักษะกระบวนการและความชำนาญในการปฏิบัติกิจกรรม และ ครูสามารถบูรณาการความรู้ ทักษะกระบวนการปฏิบัติไปใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ มีเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด

8. ด้านประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ (Transportability) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ เกี่ยวกับความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของนักเรียนในภาพรวมของ ด้านการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ พบว่าผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกรายข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าสามารถต่อยอดองค์ความรู้ในระดับที่สูงขึ้นได้ อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความสามารถในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านความรู้และประสบการณ์ระหว่างกัน ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือครูสามารถให้คำปรึกษาแก่เพื่อนครูได้ อยู่ในระดับ มากที่สุด

ชื่องานประเมิน : รายงานผลการประเมินโครงการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงาน

ของโรงเรียนเทศบาล 2 วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์

ผู้ประเมิน : ไพเราะ ใจชื่น

ปีที่ประเมิน : ปี 2560

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

การประเมินผลการพัฒนาโครงการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ในครั้งนี้ เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานของโครงการ โดยผู้ประเมินเลือกใช้ซิปโมเดล (CIPP Model) ตามแนวคิดของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) และขยายผลผลิตเป็น IEST การดำเนินการประเมินโครงการเพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานนั้น มีขอบเขตการพัฒนาออกเป็น 2 ด้าน คือ ขอบเขตด้านประชากร ที่ใช้ในการประเมินประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการงานด้านวิชาการของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 38 คน และ ขอบเขตเนื้อหาการประเมิน เป็นรายด้าน คือ ด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยป้อน (Input) ด้านกระบวนการ (Process) ด้านผลผลิต (Product) ด้านผลกระทบของโครงการ (Impact) ด้านประสิทธิผลของโครงการ (Effectiveness) ด้านประเมินความยั่งยืนของโครงการ (Sustainability) ด้านประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ (Transportability) ผู้ประเมินได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำผล ที่ได้เปรียบเทียบกับระดับผลของการประเมินแต่ละรายการตามที่ได้กำหนดไว้ ผลที่ได้นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย

ผลการประเมินโครงการพบว่า

1. ด้านการประเมินบริบท (Context ) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่า ด้านการประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการเกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านบริบท (Context) ผลการประเมินมีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อโดยเรียงลำดับดังนี้ คือโครงการนี้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน รองลงมาได้แก่ กำหนดงานจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไว้ในฝ่าย/งานได้ถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน สามารถใช้ในการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูได้อย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และ ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ที่ได้คะแนนต่ำสุดได้แก่ โครงการนี้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับ

2. ด้านการประเมินปัจจัยป้อน (Input) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ ในภาพรวมของ ด้านปัจจัยป้อน (Input) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีแผนการบริหารจัดการไว้อย่างชัดเจนเป็นขั้นตอน เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ มีการส่งเสริมพัฒนาคณะครูในเรื่องเกี่ยวกับการวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้โครงงานอย่างต่อเนื่องและมีการประเมินผลระหว่างการดำเนินงานเป็นระยะๆ อยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนที่มีผลการประเมินต่ำสุด คือมีการวิเคราะห์ภารกิจและกำหนดแผนการจัดประสบการณ์ที่หน่วยงานต้องมีและต้องใช้ในหนึ่งปีการศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุด

3. ด้านการประเมินกระบวนการ (Process) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินกระบวนการของโครงการ เกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านกระบวนการ (Process) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด ทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีการกำหนดระยะเวลาการประเมินไว้ชัดเจน, มีครูรับผิดชอบเป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการประเมินผลอย่างเป็นระบบ, มีการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนนำไปใช้ทุกครั้ง, มีแนวทางขั้นตอนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่ชัดเจน, มีการตรวจสอบผลการวิเคราะห์ทุกครั้ง, มีคณะครูที่เป็นเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการเพื่อให้บริการโดยเฉพาะ และมีการรวบรวมเอกสารสรุปการประเมินไว้เป็นหลักฐาน เฉลี่ยสูงสุด ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือมีการแจ้งผลการตรวจสอบข้อมูลให้หน่วยงานทราบ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด

4. ด้านการประเมินผลผลิต (Product) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินผลผลิตของโครงการ เกี่ยวกับในภาพรวมของ ด้านผลผลิต (Product) ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าโรงเรียนมีโครงงานได้ครบตามเป้าหมายที่กำหนดไว้, สรุปผลการประเมินนำไปใช้ในการรายงาน และสรุปผลการประเมินที่ได้นำไปใช้ในการประชาสัมพันธ์ เฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือการพัฒนาโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางลบ อยู่ในระดับ มากที่สุด

5. ด้านผลกระทบของโครงการ (Impact) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินผลกระทบของโครงการ เกี่ยวกับความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความเชื่อมั่นของผู้บริหารระดับเทศบาลต่อโรงเรียน, ความเชื่อมั่นของนักเรียนรุ่นน้องต่อพัฒนาการของเด็กทุกคนและผู้ปกครองให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความเชื่อมั่นของผู้ปกครองต่อและผู้ปกครองให้ความร่วมมือในกิจกรรมของโรงเรียน ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือชุมชนให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด

6. ด้านประสิทธิผลของโครงการ (Effectiveness) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินประสิทธิผลของโครงการ เกี่ยวกับประสิทธิภาพด้านวิชาการของนักเรียนด้านการดำเนินงานที่คุ้มค่า และความพึงพอใจที่มีต่อผลผลิตของโครงการ ในภาพรวมของ ด้านประสิทธิผลของโครงการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่ามีความพึงพอใจของผู้ปกครองที่แสดงต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานและมีความพร้อมในการที่จะเรียนต่อในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความพร้อมด้านพัฒนาการของเด็กที่เรียนจบชั้นอนุบาลปีที่ 3 ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือเด็กมีทักษะกระบวนการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับ มากที่สุด

7. ด้านประเมินความยั่งยืนของโครงการ (Sustainability) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินความยั่งยืนของโครงการ เกี่ยวกับความสามารถในการบูรณาการความรู้ ทักษะ และกระบวนการปฏิบัติของนักเรียน โดยในภาพรวมของ ด้านความยั่งยืนของโครงการ พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาศักยภาพในการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงงาน เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาได้แก่ ครูความสามารถนำความรู้ทักษะกระบวนการปฏิบัติที่ได้รับไปพัฒนาศักยภาพในการเรียนรู้ของนักเรียน, นักเรียนมีทักษะกระบวนการและความชำนาญในการปฏิบัติกิจกรรม และ ครูสามารถบูรณาการความรู้ ทักษะกระบวนการปฏิบัติไปใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ มีเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด

8. ด้านประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ (Transportability) หลังการดำเนินโครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) พบว่าด้านการประเมินการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ เกี่ยวกับความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของนักเรียนในภาพรวมของ ด้านการถ่ายโยงความรู้ของโครงการ พบว่าผลการประเมินอยู่ในระดับ มากที่สุดทุกรายข้อ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าสามารถต่อยอดองค์ความรู้ในระดับที่สูงขึ้นได้ อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความสามารถในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านความรู้และประสบการณ์ระหว่างกัน ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือครูสามารถให้คำปรึกษาแก่เพื่อนครูได้ อยู่ในระดับ มากที่สุด

โพสต์โดย นางสาววิลาวรรณ์ ฤทธิ : [25 มิ.ย. 2563 เวลา 16:44 น.]
อ่าน [3757] ไอพี : 223.207.220.137
หากข้อความนี้ไม่เหมาะสม คลิก คลิกปุ่มนี้ หากเห็นว่าข้อความนี้ไม่เหมาะสม
 
 

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความเห็น
1. ข้อความของท่านจะขึ้นแสดงโดยอัตโนมัติทันทีที่ได้รับข้อมูล
2.
ห้ามโพสต์ ข้อความยั่วยุให้เกิดความรุนแรงทางสังคม ข้อความที่ก่อให้เกิดความเสียหายและเสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม, เบอร์โทรศัพท์,
รูปภาพที่ไม่เหมาะสมต่อเยาวชนหรือภาพลามกอนาจาร หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
ขอให้ผู้ตั้งกระทู้รับผิดชอบตัวเอง
และรับผิดชอบต่อสังคม ถ้ารูปภาพ หรือข้อความใดส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น ทีมงานพร้อมจะส่งรายละเอียดให้เจ้าหน้าที่
เพื่อตามจับตัวผู้กระทำผิดต่อไป

3.
สมาชิกที่โพสต์สิ่งเหล่านี้ อาจถูกดำเนินคดีทางกฎหมายจากผู้เสียหายได้
4. ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณาสินค้าใด ๆ ทั้งสิ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. ทุกความคิดเห็นเป็นข้อความที่ทางผู้เยี่ยมชมเข้ามาร่วมตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์ kroobannok.com ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
6. ทางทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการลบกระทู้ที่ไม่เหมาะสมได้ทันที โดยไม่ต้องมีการชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความเห็นนั้นทั้งสิ้น

7. หากพบเห็นรูปภาพ หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งมาที่อีเมล์ kornkham@hotmail.com เพื่อทำการลบออกจากระบบต่อไป


 ** พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐**

ขออภัยในความไม่สะดวก เนื่องจากเราประสบปัญหา
มีผู้โพสต์ข้อความที่หมิ่นเหม่และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
ครูบ้านนอกดอทคอมจึงขอความร่วมมือสมาชิก
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความเห็นครับ


  

สมัครสมาชิกใหม่
 

 

Advertisement

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

เปิดอ่าน 1,612 ครั้ง
กรมอนามัย เผยไข่ต้มคลุกน้ำปลาสารอาหารไม่พอ เด็กวัยเรียนควรกินไข่คู่กับอาหารให้ครบหมู่หลากหลาย
กรมอนามัย เผยไข่ต้มคลุกน้ำปลาสารอาหารไม่พอ เด็กวัยเรียนควรกินไข่คู่กับอาหารให้ครบหมู่หลากหลาย

เปิดอ่าน 75,484 ครั้ง
กริยา กับ กิริยา
กริยา กับ กิริยา

เปิดอ่าน 9,595 ครั้ง
"อยากไปโรงเรียน" โจทย์ใหญ่? พ่อแม่ช่วยลูกได้..ด้วย "สนุก"
"อยากไปโรงเรียน" โจทย์ใหญ่? พ่อแม่ช่วยลูกได้..ด้วย "สนุก"

เปิดอ่าน 12,825 ครั้ง
คลิปฮา อ.เนลสันคัมแบ๊ก เต้นเพลงไทยครั้งแรก เต้นเพลงอะไร ชมเลย
คลิปฮา อ.เนลสันคัมแบ๊ก เต้นเพลงไทยครั้งแรก เต้นเพลงอะไร ชมเลย

เปิดอ่าน 21,304 ครั้ง
สัตว์เลี้ยงมงคล เกื้อหนุนชะตา 12 ราศี
สัตว์เลี้ยงมงคล เกื้อหนุนชะตา 12 ราศี

เปิดอ่าน 13,116 ครั้ง
10 ไม้ประดับบนโต๊ะทำงาน
10 ไม้ประดับบนโต๊ะทำงาน

เปิดอ่าน 14,400 ครั้ง
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครู พ.ศ. 2558
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครู พ.ศ. 2558

เปิดอ่าน 19,540 ครั้ง
การศึกษากับมุมมองของคนเวียดนาม
การศึกษากับมุมมองของคนเวียดนาม

เปิดอ่าน 23,974 ครั้ง
การวัดอุณหภูมิของอากาศ
การวัดอุณหภูมิของอากาศ

เปิดอ่าน 71,627 ครั้ง
ตารางบัญชีอัตราเงินเดือนใหม่ ตามร่างพ.ร.ฎ.ปรับเงินเดือน 5%
ตารางบัญชีอัตราเงินเดือนใหม่ ตามร่างพ.ร.ฎ.ปรับเงินเดือน 5%

เปิดอ่าน 28,775 ครั้ง
5 วิธีชำระหนี้ กยศ. ให้หมดอย่างรวดเร็ว
5 วิธีชำระหนี้ กยศ. ให้หมดอย่างรวดเร็ว

เปิดอ่าน 10,973 ครั้ง
12 เรื่องน่ารู้ การถ่ายภาพ ด้วยกล้องดิจิตอล
12 เรื่องน่ารู้ การถ่ายภาพ ด้วยกล้องดิจิตอล

เปิดอ่าน 11,217 ครั้ง
เตือนเด็กต่ำกว่า 16 ใช้มือถือ เสี่ยง 5 เท่า เนื้องอกสมอง
เตือนเด็กต่ำกว่า 16 ใช้มือถือ เสี่ยง 5 เท่า เนื้องอกสมอง

เปิดอ่าน 23,368 ครั้ง
"กำจัดจุดอ่อน" ผลงานทางวิชาการ สาขาภาษาไทย
"กำจัดจุดอ่อน" ผลงานทางวิชาการ สาขาภาษาไทย

เปิดอ่าน 12,225 ครั้ง
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ

เปิดอ่าน 41,685 ครั้ง
30 สุดยอดอาหาร ที่เป็นยาดีต่อสุขภาพ
30 สุดยอดอาหาร ที่เป็นยาดีต่อสุขภาพ
เปิดอ่าน 15,430 ครั้ง
วิธีซ่อนรอยคล้ำใต้ดวงตา
วิธีซ่อนรอยคล้ำใต้ดวงตา
เปิดอ่าน 10,558 ครั้ง
วิตามินอี ความสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม
วิตามินอี ความสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม
เปิดอ่าน 10,943 ครั้ง
ชิคุนกุนยา โรคร้าย ที่มากับยุงลาย
ชิคุนกุนยา โรคร้าย ที่มากับยุงลาย
เปิดอ่าน 13,094 ครั้ง
ตูนส์ศึกษา "นโยบายไปทาง..ปฏิบัติไปทาง..สุดท้ายปฏิวัติเสียของ"
ตูนส์ศึกษา "นโยบายไปทาง..ปฏิบัติไปทาง..สุดท้ายปฏิวัติเสียของ"

รายการหลัก

หน้าแรก
ข่าว/บทความ
สมุดเยี่ยม
กระดานสนทนา
เว็บลิงค์
ผู้จัดทำเว็บครูบ้านนอก
ข้อมูลบุคคล
ภาพกิจกรรม
ผู้สนับสนุน

สมาชิก

เข้าสู่ระบบ
คุณครูต้องรู้ไว้
รวมแบบฟอร์มต่างๆ

เว็บน่าสนใจ

เว็บไซต์ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัด
เครื่องมืออุตสาหกรรม
เกมส์
แหล่งรวมเกมส์

แหล่งรวมเกมส์
สพป.มุกดาหาร



 เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ มากมาย
เกมส์ รวมเกมส์สนุกๆ คลายเครียด

เกมส์ รวมเกมส์ เกมส์แข่งรถ เกมส์ต่อสู้ เกมส์ภาษา เกมส์วางระเบิด เกมส์แต่งตัว เกมส์ท่องเที่ยว เกมส์หมากฮอส เกมส์ผจญภัย เกมส์เต้น เกมส์รถ เกมส์ดนตรี เกมส์ขายของ เกมส์ฝึกสมอง เกมส์เด็กๆ เกมส์ปลูกผัก เกมส์การ์ด เกมส์จับผิดภาพ เกมส์ตลก เกมส์ตัดผม เกมส์ก้านกล้วย เกมส์ทําอาหาร เกมส์เลี้ยงสัตว์ เกมส์ผี เกมส์จับคู่ เกมส์กีฬา เกมส์เศรษฐี เกมส์ฝึกทักษะ เกมส์วางแผน เกมส์จีบหนุ่ม เกมส์มาริโอ เกมส์ระบายสี เกมส์จีบสาว เกมส์เบ็นเท็น เกมส์ยิง เกมส์ยาน เกมส์สร้างเมือง เกมส์มันส์ๆ เกมส์แต่งบ้าน เกมส์ความรู้
      kroobannok.com

© 2000-2020 Kroobannok.com  
All rights reserved.


Design by : kroobannok.com


ครูบ้านนอกดอทคอม
การจัดอันดับของ Truehits Web Directory

วิธีนำแบนเนอร์ของครูบ้านนอก.คอมไปแปะในเว็บท่าน บันทึกภาพแบนเนอร์นี้และลิงค์มาที่เราครับ (มีแบนเนอร์ 2 แบบ)
 

ครูบ้านนอกดอทคอม เว็บไซต์ของครูตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ที่หวังเพียง ใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เพิ่มพูนความรู้ และให้ข่าวสาร ที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์แก่คุณครู ผู้ปฏิบัติงานในทุกพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อความเจริญงอกงามในปัญญา และเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ

เว็บนี้ถือกำเนิดเมื่อ 5 มกราคม 2548

Email : kornkham@hotmail.com
Tel : 096-7158383

สนใจสนับสนุนเรา โดยลงโฆษณา
คลิกดูรายละเอียดที่นี่ครับ