แผนจัดการเรียนรู้ที่ 25
รหัสวิชา ค23102 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็น เวลา 1 ชั่วโมงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ จำนวน 14 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวสมฤดี แววไทสง ใช้สอนวันที่............เดือน...............พ.ศ. ...........
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์
ตัวชี้วัด มฐ ค 5.2 ม.3/1 หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้น เท่า ๆ กัน และใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
2.สาระสำคัญ
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด เท่ากับอัตราส่วนของจำนวนผลที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น ต่อจำนวนผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้
หรือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด =
เมื่อผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม แต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่า ๆ กัน
กำหนดให้ E เป็นเหตุการณ์ที่เราสนใจ
P(E) เป็นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์นั้น
n(s) เป็นจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้จากการทดลองสุ่ม
และ n(E) เป็นจำนวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่เราสนใจ
ดังนั้น P(E) =
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
บอกความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่กำหนดให้ได้
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
1.นักเรียนสามารถแก้ปัญหา
2.นักเรียนสามารถให้เหตุผล
3.นักเรียนสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ
4.นักเรียนสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น
5. นักเรียนสามารถมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ด้านคุณลักษณะ (A)
1. รักชาติศาสน์กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง
2. ซื่อสัตย์สุจริต 6.  มุ่งมั่นในการทำงาน
3. มีวินัย 7. รักความเป็นไทย
4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
4.สาระการเรียนรู้
ความน่าจะเป็น (Probability)
- การทดลองสุ่ม
- ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น
- เหตุการณ์
- การหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
- การนำไปใช้
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (อาจไม่ระบุทั้งหมด แต่เมื่อรวมทุกแผน ต้องได้ครบ 5 ข้อ )
1.  ความสามารถในการสื่อสาร
2.  ความสามารถในการคิด
3.  ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. ทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) (กำหนดลอยไว้ถ้าจัดกิจรรมที่มีการปฏิบัติ/กลุ่ม/ชิ้นงาน/โครงงาน จะเกิดอยู่แล้ว)
1. ทักษะในสาระวิชาหลัก (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขียน) 1.3  (A)Rithemetics (คณิตฯ)
2. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (8Cs)
2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวิจารณญาณ และ
แก้ปัญหา)
2.2 Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
2.3 Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม)
2.4  Collaboration, Teamwork and Leadership (การทำงานเป็นทีม ภาวะ
ผู้นำ)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การสื่อสาร
สารสนเทศ)
2.6 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี)
2.7 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้)
2.8  Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย)
3.1 กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบ/เทคนิค Active Learning
7. บูรณาการกิจกรรมสะเต็มศึกษา (จาก STEM สู่ STEAM)
1.  S (Science) : ระบุเนื้อหา/ กิจกรรม ได้เปรียบหรือไม่
2.  T (Technology) : ทดสอบย่อยด้วย App Kahoot
3. E (Engineering) : ระบุเนื้อหา/ กิจกรรม ........................................................
4. A (Art) : ระบุเนื้อหา/ กิจกรรม .......................................................................
5.  M (Mathematics) : แบบฝึกทักษะ,ทดสอบย่อยด้วย App Kahoot
8. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 : 3 : 4 (2 เงื่อนไข : 3 หลักการ : 4 มิติ)
2 เงื่อนไข
1.  เงื่อนไขความรู้ คือ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
2.  เงื่อนไขคุณธรรม คือ ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร รู้จักแบ่งปัน ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
3 หลักการ
1. ความพอประมาณ หมายถึง หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
3.  การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
4 มิติ
1. ด้านเศรษฐกิจ (วัตถุชีวิต) คือ ลดรายจ่าย / เพิ่มรายได้ / ใช้ชีวิตอย่างพอควร /
คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ / มีภูมิคุ้มกัน / ไม่เสี่ยงเกินไป / การเผื่อทางเลือกสำรอง
2.  ด้านสังคม คือ ช่วยเหลือเกื้อกูล / รู้รักสามัคคี / สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว
และชุมชน
3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและ
รอบคอบ / เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างรู้ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด / ฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด
4. ด้านวัฒนธรรม คือ รักและเห็นคุณค่าในความเป็นไทย เอกลักษณ์ไทย / เห็น
ประโยชน์และคุ้มค่าของภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญหาท้องถิ่น/ รู้จักแยกแยะและเลือกรับวัฒนธรรม อื่น ๆ
9. การบูรณาการและเตรียมความพร้อมในการสอบ Pre O-NET, O-NET, PISA
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด มาตรฐาน
ข้อสอบ /ประเด็น /หัวข้อ .........
10. กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบ/เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI
11.ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นรับรู้
1. แบ่งกลุ่มนักเรียนคละความสามารถ (เก่ง ปานกลาง อ่อน) กลุ่มละ 5 คน จำนวน 6 กลุ่ม ครูทบทวนความรู้เดิมโดยการซักถามนักเรียนเรื่องความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เรียนมาแล้วในชั่วโมงที่ผ่านมา
2. ครูเตรียมลูกเต๋า 2 ลูก ร่วมกันทำกิจกรรม เกมแข่งรถ โดยมีกติกา ดังนี้
- มีลูกเต๋า 2 ลูก
- ถ้าเราโยนลูกเต๋า ผลรวมเป็นเท่าไร รถคันที่อยู่หมายเลขนั้นก็จะขยับ
- รถคันไหนเข้าเส้นชัยก่อน คันนั้นชนะ
3. ครูให้นักเรียนเลือกว่าจะเลือกรถคันไหนที่จะชนะ โดยการที่ครูและนักเรียนร่วมกันทดลอง นักเรียนแต่ละกลุ่มจะเกิดสังเกตจากการทดลอง โดยครูช่วยกระตุ้นด้วยการตั้งคำถามและให้ดูตาราง ดังนี้
- นักเรียนคิดว่าโอกาสที่จะชนะมากที่สุด คือคันที่เท่าไร เพราะเหตุใด
- นักเรียนคิดว่าโอการที่จะแข่งชนะน้อยที่สุดคือคันที่เท่าไร เพราะเหตุใด
4. ครูและนักเรียนร่วมกันหาความน่าจะเป็นจากการแข่งขันรถครั้งนี้
ขั้นเชื่อมโยง
5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมต่อไปนี้
ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง จงหาผลที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด พร้อมทั้งหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
1. เหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันเป็น 7
2. เหตุการณ์ที่แต้มต่างกัน 2
3. เหตุการณ์ที่ผลคูณของแต้มที่ปรากฏบนลูกเต๋าเป็นจำนวนเฉพาะ
วิธีทำ ผลที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดคือ (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (1,5) , (1,6)
(2,1) , (2,2) , (2,3) , (2,4) , (2,5) , (2,6)
(3,1) , (3,2) , (3,3) , (3,4) , (3,5) , (3,6)
(4,1) , (4,2) , (4,3) , (4,4) , (4,5) , (4,6)
(5,1) , (5,2) , (5,3) , (5,4) , (5,5) , (5,6)
(6,1) , (6,2) , (6,3) , (6,4) , (6,5) , (6,6)
1. เหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันเป็น 7 คือ (1,6),(2,5) ,(3,4) ,(4,3) ,(5,2) ,(6,1)
หรือ = {(1,6),(2,5) ,(3,4) ,(4,3) ,(5,2) ,(6,1) },
จาก P(E1) = = =
ดังนั้นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันเป็น 7 คือ
2. เหตุการณ์ที่แต้มต่างกัน 2 คือ (1,3) , (3,1) , (2,4), (4,2),(3,5),(5,3),(4,6),(6,4)
หรือ {(1,3),(3,1),(2,4),(4,2),(3,5),(5,3),(4,6),(6,4)},
จาก P(E2) = =
ดังนั้นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้เหตุการณ์ที่แต้มต่างกัน 2 คือ
3. เหตุการณ์ที่ผลคูณของแต้มที่ปรากฏบนลูกเต๋าเป็นจำนวนเฉพาะ คือ (1,1) , (1,2) , (1,3) , 1,5) , (2,1) , (3,1) , (5,1) หรือ {(1,1) , (1,2) , (1,3) , 1,5) , (2,1) , (3,1) , (5,1)},
จาก P(E3) = =
ดังนั้น ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เหตุการณ์ที่ผลคูณของแต้มที่ปรากฏบนลูกเต๋าเป็น
จำนวนเฉพาะ คือ
ขั้นประยุกต์ใช้
6.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ที่ 25 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ โดยให้นักเรียนที่มีความสามารถสูงช่วยอธิบายให้เพื่อนในกลุ่มที่มีความสามารถทางการเรียนปานกลางและอ่อนฟัง ครูเดินสำรวจเพื่อให้คำแนะนำและอธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่นักเรียนไม่เข้าใจ
7.จากนั้นนักเรียนทุกคนฝึกพัฒนาการเรียนรู้โดยการทำแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
8.นักเรียนทำแบบทดสอบย่อย ชุดที่ 25 เป็นคู่ โดยการให้นักเรียนเล่น App Kahoot จำนวน 5 ข้อ ไม่อนุญาตให้ปรึกษากันจนกว่าจะทำแบบทดสอบเสร็จเรียบร้อย
9..เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มทำแบบทดสอบย่อย ชุดที่ 25 เสร็จเรียบร้อยแล้ว ทุกดูคะแนนจาก App ครูให้รางวัลนักเรียนที่สอบได้อันดับ 1-3
10. นักเรียนและครู ช่วยกันสรุป ดังนี้
 P(E) =
9. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทำงานของนักเรียนรายบุคคลและรายกลุ่มและแจ้งผลคะแนนของแต่ละกลุ่มให้นักเรียนทราบ ส่วนคะแนนอื่นๆครูจะติดไว้ที่ป้ายนิเทศก่อนเลิกเรียน
12.สื่อการเรียนรู้
12.1 ลูกเต๋าประดิษฐ์
12.2 แบบฝึกทักษะชุดที่ 25
12.3 ใบความรู้ชุดที่ 25
12.4 แบบทดสอบย่อยประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25 App kahoot
13.การวัดและประเมินผล
1 วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 สังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
1.2 ตรวจแบบฝึกทักษะ และแบบทดสอบย่อยประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25
2 เครื่องมือวัดผล
2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในกระบวนการกลุ่ม
2.2 แบบฝึกทักษะชุดที่ 25
2.3 แบบทดสอบย่อยประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25
2.4 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
2.5 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3 เกณฑ์การวัดและประเมินผล
3.1 คะแนนการประเมินพฤติกรรมได้ 3 คะแนน (ระดับดี)
3.2 คะแนนจากการทำแบบฝึกทักษะ ไม้น้อยกว่าร้อยละ 75
3.3 คะแนนจาการทำแบบแบบทดสอบย่อยประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ไม้น้อยกว่าร้อยละ 70
3.4 คะแนนทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ต้องไม่ต่ำกว่าระดับคุณภาพ 2
3.5 คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต้องไม่ต่ำกว่าระดับคุณภาพ 2
15. บันทึกการนิเทศจากหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของนางสาวสมฤดี แววไทสง แล้วมีความคิดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
 เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป
3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้
4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................................
(นางสาวสมฤดี แววไทสง)
ตำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้อำนวยการโรงเรียน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................................
(นายจีระยุทธ พุทธรักษาพิทักษ์)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนจระเข้วิทยายน
16. บันทึกผลหลังการสอน
16.1 สรุปผลการเรียนการสอน
1. นักเรียนจำนวน........................คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้...............คน คิดเป็นร้อยละ.................................
ได้แก่ ..................................................................................................................................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์............................คน คิดเป็นร้อยละ.................................
ได้แก่ ..................................................................................................................................................นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้แก่.................................................................................................
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ( K)
.............................................................................................................................................................
3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P)
.............................................................................................................................................................
4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A)
.............................................................................................................................................................
16.2 ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
16.3 ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................................................
ลงชื่อ.................................................................
(นางสาวสมฤดี แววไทสง)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ข้อเสนอแนะหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................................
(นางสาวสมฤดี แววไทสง)
ตำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้อำนวยการโรงเรียน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................................
(นายจีระยุทธ พุทธรักษาพิทักษ์)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนจระเข้วิทยายน
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่
..
กลุ่มที่ เกณฑ์การประเมิน
รวม
(10)
ระดับคุณภาพ
การมอบหมายงานในกลุ่ม
(3) นักเรียนรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม (2) ความร่วมมือกันของสมาชิกในกลุ่ม
(3) ความกระตือรือร้นในการทำงาน
(2)
1
2
3
4
5
6
เกณฑ์คุณภาพ
8 - 10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถึง ดี
5 - 7 คะแนน อยู่ในระดับ 2 หมายถึง พอใช้
1 - 4 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง
ลงชื่อ.........................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวสมฤดี แววไทสง )
............./............../.............
เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียน กำหนดเกณฑ์ในการประเมิน ดังนี้
รายการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การพิจารณา
การมอบหมายงานในกลุ่ม
3
2
1 - มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบให้สมาชิกทุกคนในกลุ่ม
- มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบให้สมาชิกไม่ครบทุกคน
- ไม่มีการแบ่งหน้าที่ในกลุ่ม โดยในคนใดคนหนึ่งรับผิดชอบงานทั้งหมด
นักเรียนรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม 2
1 - สมาชิกทุกคนในกลุ่มยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
- สมาชิกบางคนในกลุ่มไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยไม่มีเหตุผลสมควร
ความร่วมมือกันของสมาชิกในกลุ่ม
3
2
1 - สมาชิกทุกคนในกลุ่มรับผิดชอบต่อหน้าที่ และช่วยเหลือคนในกลุ่มอย่างเต็มใจ
- สมาชิกทุกคนในกลุ่มรับผิดชอบต่อหนน้าที่ของตน แต่ไม่ช่วยเหลือคนอื่นในกลุ่ม
- สมาชิกบางคนในกลุ่มไม่รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ความกระตือรือร้นในการทำงาน
2
1 - นักเรียนมีความตื่นตัวตลอดเวลา และแสดงออกถึงความตั้งใจและอยากทำงานให้เสร็จ
- นักเรียนมีความตื่นตัวเป็นบางเวลา แต่ยังมีความตั้งใจและอยากทำงานให้เสร็จ
แบบประเมิน
คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมด้านต่างๆของนักเรียนแต่ละคนและเขียนลงในช่อง ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ ดังนี้
ระดับ3 หมายถึง มีพฤติกรรมดีเยี่ยม ,ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมดี , ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมผ่าน
ที่ ชื่อ - สกุล ทักษะกระบวนการ สรุป คุณลักษณะ สรุป
ข้อ 1(3) ข้อ 2(3) ข้อ 3(3) ข้อ 4(3) ข้อ 2(3) ข้อ 4(3) ข้อ 4(3)
1 เด็กชายกฤติพงษ์
2 เด็กชายกฤษณะเด็กชายวรุณ
3 กุลวัฒน์
4 นายคุณากร
5 เด็กชายจิรายุทธ
6 เด็กชายจีรพันธ์
7 เด็กชายณฤมิตร
8 เด็กชายณัฐพล
9 เด็กชายธนวัต
10 เด็กชายธนาคาร
11 เด็กชายปรเมษฐ
12 เด็กชายปรีชา
13 เด็กชายปิยะ
14 เด็กชายพันธกานต์
15 เด็กชายภัคคินัย
16 เด็กชายวัชรพงษ์
17 นายอนุชา
18 เด็กหญิงกัญญาณัฐ
19 เด็กหญิงกุลสตรี
20 เด็กหญิงเกศฎาพร
21 เด็กหญิงธนัญญา
22 เด็กหญิงน้ำฝน
23 นางสาวนิภาพร
24 เด็กหญิงนิษาชล
25 เด็กหญิงพฤกธชาติ
26 เด็กหญิงมลิษา
27 เด็กหญิงยุวดี
28 เด็กหญิงวรนุช
29 เด็กหญิงสุมินตรา
ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ในระดับ 2 ขึ้นไป
ลงชื่อ...............................ผู้ประเมิน
( นางสาวสมฤดี แววไทสง )
แบบประเมิน
คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมด้านต่างๆของนักเรียนแต่ละคนและเขียนลงในช่อง ระดับ
คุณภาพตามเกณฑ์ ดังนี้
ระดับ3 หมายถึง มีพฤติกรรมดีเยี่ยม ,ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมดี , ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมผ่าน
ที่ ชื่อ - สกุล ทักษะกระบวนการ สรุป คุณลักษณะ สรุป
ข้อ 1(3) ข้อ 2(3) ข้อ 3(3) ข้อ 4(3) ข้อ 2(3) ข้อ 4(3) ข้อ 4(3)
1 เด็กชายกฤษดา
2 เด็กชายณัฐภูมิ
3 เด็กชายทักษ์ดนัย
4 เด็กชายพลวัฒน์
5 เด็กชายพีระภัทร
6 เด็กชายพิศิษฐ์
7 เด็กชายถิรวัฒน์
8 เด็กหญิงชลธิชา
9 เด็กหญิงชุติกาญจน์
10 เด็กหญิงญาณัจฉรา
11 เด็กหญิงธิวากรณ์
12 เด็กหญิงปฏิมาพร
13 เด็กหญิงปภัสสร
14 เด็กหญิงปวีณา
15 เด็กหญิงพลอยพรรณรินทร์
16 เด็กหญิงพิมพ์ชนก
17 นางสาวพิลัยพร
18 เด็กหญิงมาริษา
19 เด็กหญิงรัตนา
20 เด็กหญิงรุ่งทิพย์
21 เด็กหญิงสมปรารถนา
22 เด็กหญิงสาริณี
23 เด็กหญิงสิติมา
24 เด็กหญิงสุภาวดี
25 เด็กหญิงอโณทัย
26 เด็กหญิงอรพรรณ
27 เด็กหญิงอริสา
ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ในระดับ 2 ขึ้นไป
ลงชื่อ...............................ผู้ประเมิน
( นางสาวสมฤดี แววไทสง )
ใบความรู้ชุดที่ 25
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด =
ตัวอย่าง
ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงหาผลที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด พร้อมทั้งหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
1. เหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันเป็น 7
2. เหตุการณ์ที่แต้มต่างกัน 2
3. เหตุการณ์ที่ผลคูณของแต้มที่ปรากฏบนลูกเต๋าเป็นจำนวนเฉพาะ
วิธีทำ ผลที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดคือ (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (1,5) , (1,6)
(2,1) , (2,2) , (2,3) , (2,4) , (2,5) , (2,6)
(3,1) , (3,2) , (3,3) , (3,4) , (3,5) , (3,6)
(4,1) , (4,2) , (4,3) , (4,4) , (4,5) , (4,6)
(5,1) , (5,2) , (5,3) , (5,4) , (5,5) , (5,6)
(6,1) , (6,2) , (6,3) , (6,4) , (6,5) , (6,6)
1.เหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันเป็น 7 คือ (1,6),(2,5) ,(3,4) ,(4,3) ,(5,2) ,(6,1)
หรือ = {(1,6),(2,5) ,(3,4) ,(4,3) ,(5,2) ,(6,1) },
4. เหตุการณ์ที่แต้มต่างกัน 2 คือ (1,3) , (3,1) , (2,4), (4,2) ,(3,5),(5,3),(4,6),(6,4) หรือ {(1,3),(3,1),(2,4),(4,2),(3,5),(5,3),(4,6),(6,4)},
3. เหตุการณ์ที่ผลคูณของแต้มที่ปรากฏบนลูกเต๋าเป็นจำนวนเฉพาะ คือ (1,1) , (1,2) , (1,3) , 1,5) , (2,1) , (3,1) , (5,1) หรือ {(1,1) , (1,2) , (1,3) , 1,5) , (2,1) , (3,1) , (5,1)},
แบบฝึกทักษะชุดที่ 25
ตอนที่ 1
คำชี้แจง จงเขียนตอบคำถาม จากคำถามต่อไปนี้
จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
1.เหตุการณ์ที่ได้แต้มเหมือนกัน
2.เหตุการณ์ที่แต้มบนลูกเต๋าสองลูกรวมกันมีค่าน้อยกว่า 5
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
แบบฝึกทักษะชุดที่ 25
คำชี้แจง จงเขียนตอบคำถาม จากคำถามต่อไปนี้
จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
1.เหตุการณ์ที่ได้แต้มเหมือนกัน
2.เหตุการณ์ที่แต้มบนลูกเต๋าสองลูกรวมกันมีค่าน้อยกว่า 5
วิธีทำ ผลที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดคือ (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (1,5) , (1,6)
(2,1) , (2,2) , (2,3) , (2,4) , (2,5) , (2,6)
(3,1) , (3,2) , (3,3) , (3,4) , (3,5) , (3,6)
(4,1) , (4,2) , (4,3) , (4,4) , (4,5) , (4,6)
(5,1) , (5,2) , (5,3) , (5,4) , (5,5) , (5,6)
(6,1) , (6,2) , (6,3) , (6,4) , (6,5) , (6,6)
1. เหตุการณ์ที่ได้แต้มเหมือนกัน คือ (1,1) , (2,2) , (3,3) , (4,4) , (5,5), (6,6) หรือ = {(1,1) , (2,2) , (3,3) , (4,4) , (5,5), (6,6) },
ดังนั้น
2. เหตุการณ์ที่แต้มบนลูกเต๋าสองลูกรวมกันมีค่าน้อยกว่า 5 คือ (1,1) , (1,2) , (1,3), (2,1) , (2,2) , (3,1) หรือ {(1,1) , (1,2) , (1,3), (2,1) , (2,2) , (3,1)}
ดังนั้น
แบบทดสอบย่อยประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25
เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
คำชี้แจง
1. ข้อสอบมีทั้งหมด 5 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2. ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ลงในช่องตัวอังษร ก ข ค และ ง ในกระดาษคำตอบที่ตรงกับคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
เหตุการณ์ต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 1 - 5
ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง "
1.เหตุการณ์ที่โยนครั้งแรก ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ ตรงกับข้อใด
ก. 1,3,5
ข. (1,1),(1,3),(1,5),(3,1),(3,3),(3,5),(5,1),(5,3),(5,5)
ค. (1,1),(1,2),
(1,6),(3,1),(3,2),
(3,6),(5,1),(5,2),
(5,6)
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
2.เหตุการณ์ที่โยนครั้งแรก ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 5 ตรงกับข้อใด
ก. 6
ข. (6,6)
ค. (6,1),(6,2),(6,3),
,(6,6)
ง. ผิดทุกข้อ
3. ความน่าจะเป็นของแต้มจากการโยนลูกเต๋า 2 ครั้งมากกว่า 10 ตรงกับข้อใด10,11 และ 12
ก. 0
ข. 1/36
ค. 2/36
ง. 3/36
4.ความน่าจะเป็นของแต้มจากการโยนลูกเต๋า 2 ครั้งไม่เกิน 4 คือข้อใด
ก. 3/36
ข. 4/36
ค. 5/36
ง. 6/36
5.ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองลูกมีค่ามากกว่า 12
ก. 0
ข. 1
ค. 3/36
ง. 1/36
แบบทดสอบย่อยประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25
เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
1. ข
2. ค
3. ค
4. ง
5. ก