ื่อเรื่อง การพัฒนาการจดักิจกรรมการเรียนรู้วชิาภาษาองักฤษ ดว้ยวธิีสอนอ่านแบบ DR-TA
ร่วมกบัการใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์เพื่อพฒั นาความสามารถการอ่านเพื่อ
ความเขา้ใจของนกัเรียนช้นั มธัยมศึกษาปีที่1
ผู้ศึกษา นางกญั ญาภคั กอนรัมย์
ตา แหน่งครูวิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาล 2 อิสาณธีรวิทยาคาร
สังกดักองการศึกษา เทศบาลเมืองบุรีรัมย์จงัหวดับุรีรัมย์
ปี ที่รายงาน 1/2561
บทคัดย่อ
การวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อพฒั นาวธิีการสอนอ่านเพื่อความเขา้ใจดว้ยวธิีแบบ
DR-TA (Direct Reading-Thinking Activity) โดยใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์ของนักเรียน
ช้นั มัธยมศึกษาปี ที่ 1ด้วยโดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ 1) เพื่อพัฒนาวธิีการสอนอ่านเพื่อความเขา้ใจ
ด้วยวิธีแบบ DR-TA (Direct Reading-Thinking Activity) โดยใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์ของ
นักเรียนช้นั มธัยมศึกษาปีที่1และประเมินผลการใช้วิธีการสอน DR-TA (Direct Reading-Thinking
Activity) ประกอบด้วย (1.1)วเิคราะห์และสังเคราะห์ขอ้มูลพ้ืนฐานในการพฒั นาวธิีการสอนอ่าน
เพื่อความเข้าใจด้วยวิธีแบบDR-TA(Direct Reading-Thinking Activity)โดยใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดั
บุรีรัมย์ ของนักเรียนช้นั มธัยมศึกษาปีที่1 (1.2) พัฒนาวธิีการสอนอ่านเพื่อความเขา้ใจดว้ยวธิีแบบ
DR-TA (Direct Reading-Thinking Activity) โดยใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์ของนักเรียนช้นั
มัธยมศึกษาปี ที่ 12) เพื่อประเมินการใช้วธิีการสอนอ่านเพื่อความเขา้ใจดว้ยวธิีแบบ DR-TA (Direct
Reading-Thinking Activity) โดยใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์ของนักเรียนช้นั มธัยมศึกษาปีที่1
ประกอบด้วย (2.1)การประเมินความสามารถในการอ่านเพื่อความเขา้ใจของผเู้รียนก่อนและหลงั
การใชว้ธิีการสอนอ่านแบบDR-TA (Direct Reading-Thinking Activity) เพื่อความเข้าใจด้วยวิธี
แบบ DR-TA (Direct Reading-Thinking Activity) โดยใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์ของนักเรียน
ช้นั มัธยมศึกษาปี ที่ 1(2.2)การประเมินคุณลกัษณะดา้นการเรียนของผเู้รียนก่อนและหลงัการใช้
วธิีการสอนอ่านภาษาองักฤษเพื่อความเขา้ใจดว้ยวธิีแบบ DR-TA (Direct Reading-Thinking
Activity) โดยใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์ของนักเรียนช้นั มธัยมศึกษาปีที่1และ (2.3)
การประเมินพฒั นาการในดา้นการอ่านภาษาองักฤษของผเู้รียน กลุ่มตวัอยา่ งคือ นกัเรียนช้นั
มัธยมศึกษาปี ที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561ของโรงเรียนเทศบาล 2 อิสาณธีรวิทยาคาร
สังกดักองการศึกษา เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ จ านวน 38คน ซ่ึงไดม้าโดยการสุ่มแบบ
กลุ่ม ( Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาที่ผู้วิจัยเป็นผสู้ร้างข้ึนเองไดแ้ก่
1.แผนการจดัการเรียนรู้โดยวิธีการอ่าน DR-TA ร่วมกบัการใชข้อ้มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์
จ านวน 15 แผน ใช้สอนสัปดาห์ละ 1 ชวั่ โมงรวม 15 ชวั่ โมง 2. แบบทดสอบวัดความเข้าใจใน
การอ่าน 2 ฉบับแบบทดสอบก่อนเรียน 1 ชุด จา นวน 30ขอ้ แบบทดสอบหลังเรียน 1 ชุด จ านวน 30
ข้อ3.แบบฝึกการอ่านเพื่อความเขา้ใจโดยใชข้อ้ มูลทอ้งถิ่นจงัหวดับุรีรัมย์ช้นั มธัยมศึกษาปีที่1และ
4.แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยวธิีการอ่าน DR-TA ร่วมกบัการใชข้อ้ มูลทอ้งถิ่น
จังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วย 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ประกอบด้วยข้อ
ค าถาม จ านวน 15 ข้อ สถิติที่ใชใ้นการศึกษาไดแ้ก่ค่าร้อยละ(Percentage)ค่าเฉลี่ย(Mean)และ
ค่าสถิติที(t-test) ผู้ศึกษา สรุปผลอภิปรายผลและขอ้เสนอแนะไดด้งัน้ี
สรุปผลการวจิัย
1. ความสามารถการอ่านเพื่อความเข้าใจของนกัเรียนช้นั มธัยมศึกษาปีที่1 ดว้ยวธิี
การสอนอ่านแบบ DR-TA (Direct Reading-Thinking Activity) ร่วมกบัการใชข้อ้ มูลทอ้งถิ่น
จังหวัดบุรีรัมย์ แต่ละดา้นหลงัเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติที่ระดบั .05
2. ความพึงพอใจของนกัเรียนช้นั มธัยมศึกษาปีที่1 ดว้ยวธิีการสอนอ่านแบบ DR-TA
(Direct Reading-Thinking Activity) ร่วมกบัการใชข้อ้ มูลทอ้งถิ่น จังหวัดบุรีรัมย์ อยใู่ นระดบั
พอใจมาก