ชื่อเรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย
เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ชื่อผู้ศึกษา อัญชุลีกร ขันติวีรวัฒน์
โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ตำบลบ้านขาม อำเภอน้ำพอง
จังหวัดขอนแก่น
ปีที่ศึกษา 2561
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 3) ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4) ประเมินและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ตำบลบ้านขาม อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น จำนวน 23 คน โดยวิธีเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง (Purposive sampling) แบบแผนการวิจัย คือ แบบการวิจัยและพัฒนา (The Research and Development) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 19 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน หาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้ จากสูตร E1/E2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ( ) และหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test Dependent) ผลการศึกษา พบว่า
1. ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญ ครู และนักเรียน
พบว่า นักเรียนมีความต้องการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย ในระดับมาก นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง มีการทำงานเป็นกระบวนการกลุ่ม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. การจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL ที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย แผนการจัดเรียน
เรียนรู้ จำนวน 19 แผน จำนวน 19 ชั่วโมง รวมแผนปฐมนิเทศและทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.48 / 81.17 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80 / 80 ที่กำหนดไว้
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL พบว่า การจัดการ
เรียนการสอนเป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ นักเรียนให้ความสนใจ กระตือรือร้นต่อการ จัดการเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมได้ตามที่กำหนด
3.1 ผลการเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วย การจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
3.2 เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัด การเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทย เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
4. ผลการประเมินและปรับปรุงแก้ไข การจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนมีความพอใจการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ STAD-KWL ในระดับ มากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.57 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.53
Abstract
The objectives of this research were to 1) develop and find the efficiency of I-K-W-L Learning Activity Management Plan entitled Heredity for Matayomsuksa 4 students. 2) Develop and find the effectiveness through the I-K-W-L Learning Activity Management Plan entitled Heredity to promote analytical ability Of Matayomsuksa 4 students according to 80/80 criteria 3) Experiment using the I-K-W-L Learning Activity Management Plan entitled Heredity to supports analytical ability of Matayomsuksa 4 students. 4) Evaluate and improve learning management through the I-K-W-L activity Management Plan entitled Heredity to supports analytical ability of Matayomsuksa 4 students. The samples were 17 Matayomsuksa 4 students during the first semester of the 2016 academic year, Prathatkhamkaenpittayalai School, Ban Kham Sub-district, Namphong District, Khon Kaen Province, under the jurisdictionof Khon Kaen Administrative Organization. This research was the research and development by using one group pretest posttest design. The research instruments were 1) 17 I-K-W-L Learning Activity Management Plan Entitled Heredity for Matayomsuksa 4 students, 2) a learning achievement test, 3) an analytical thinking ability inventory and 4) a students satisfaction evaluation form formula was administered to search for the efficiency of the learning management plan. The statistics used for data analysis included the mean , stand deviation (S.D.), and the t-test Development.
The research findings found that:
1. Basic information for developing learning management Obtained from experts, teachers and Students. The research found that students have a need to manage of I-K-W-L Learning Activity Management Plan entitled Heredity at a high level. Students have taken an action by perform, research knowledge for themselves, work as a group process, and it can be used in everyday life.
2. The created of the I-K-W-L learning management, consisting of 17 learning plans, 17 hours in total, excluding orientation and pre-after posttest in the classes which efficiency of 81.48 / 81.17 which is in accordance with the 80/80 criteria.
3. The results of the I-K-W-L learning management founded teaching and learning is in accordance with the learning management plan. The student interested and enthusiasm for learning management and perform activities as specified
3.1. Comparative results of learning achievement before and after learning by I-K-W-L learning Activity Management Plan entitled Heredity to support analytical ability of Mathayomsuksa 4 students shown that the after studying was higher than before learning at 0.05 statistically.
3.2. Comparison of analytical thinking ability between before and after study by I-K-W-L learning Activity Management Plan entitled Heredity to support analytical ability of Mathayomsuksa 4 students shown that the after studying was higher than before learning at 0.05 statistically.
4. The evaluation and improvement results of the I-K-W-L learning Activity Management Plan entitled Heredity to support analytical ability of Mathayomsuksa 4 students shown that students were satisfied with the use of the I-K-W-L learning model at the highest level, with an average of 4.57 and a standard deviation of 0.53.