ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้าง
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผู้วิจัย นางจรัญญา อริยะเดช
โรงเรียน โรงเรียนหนองบุญมากพิทยาคม อ าเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา
ส านักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา
ปีที่พิมพ์ 2561
บทคัดย่อ
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
ที่เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบ
การเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิด
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา
ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในการเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ของนักเรียนหลังเรียนและเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 4) เพื่อประเมินรูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์
โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิค
ของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและข้อมูลจากการด าเนินการวิจัยมาปรับปรุงแก้ไข กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 จ านวน 32 คน โรงเรียนหนองบุญมากพิทยาคม
อ าเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา ได้มาจากการสุ่มกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีจ านวน 5 ชนิด คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 15 แผน 2) แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ มีค่าอ านาจ
จ าแนกตั้งแต่ 0.38-0.63 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rcc) เท่ากับ 0.82 3) แบบทดสอบวัดทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นแบบปรนัย จ านวน 20 ข้อ มีค่าอ านาจจ าแนก ตั้งแต่ 0.25-0.58
และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rtt) เท่ากับ 0.90 และ (5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี
ต่อการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
จ านวน 20 ข้อ มีค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.36-0.73 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (α) เท่ากับ 0.93
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test)
ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้
1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานพบว่าหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 มุ่งหมายที่จะพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้พึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีค่านิยมที่พึงประสงค์
เมื่อจบการศึกษาแล้ว ผู้เรียนจะได้มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร มีทักษะการคิดแก้ปัญหา การใช้
เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิตที่ดีตามมาตรฐานการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ของหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหาเป็น สร้างองค์ความรู้ได้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ผ่านการเรียนรู้
ด้วยตนเองหรือร่วมมือกันเรียนรู้ สนับสนุนให้ผู้เรียนได้คิดแก้ปัญหาด้วยเทคนิคของโพลยา น าไปสู่ผล
ของการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ที่มีความแปลกใหม่ แตกต่างจากเดิม มีคุณค่าและเกิดประโยชน์
ส าหรับรูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการเรียนรู้
แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้พัฒนาตามสภาพปัจจุบันในการจัดการเรียนการสอนของ
ครูผู้สอนและความต้องการของผู้เรียน ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ ที่น าหลักการทางคณิตศาสตร์ไปใช้แก้ปัญหาอย่างหลากหลาย มีขั้นตอนการแก้ปัญหาที่
เป็นระบบ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการน าเสนอไดอ้ย่างถูกต้อง และชัดเจนเชื่อมโยง
ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ กับ ศาสตร์อื่นๆ หรือปรับใช้ในการ
ด าเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
2. การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของของรูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์
โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิค
ของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 75/75
3. การทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์ ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า
3.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางเรียนหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .014. การประเมินรูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์ ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา ที่เสริมสร้างทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 จ านวน 32 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 75/75 และ มีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน
วิชาคณิตศาสตร์ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ร่วมกับการเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และเทคนิคของโพลยา โดยภาพรวมอยู่ในระดับความ
พึงพอใจมากที่สุด